Page 211 - Bright Spot 2563
P. 211
3. การน ารูปแบบการสร้างสุขด้วยสติในองค์กร ( Mindfulness in Organization : MIO )
มาใช้ในองค์กร เครือข่ายบริการสุขภาพปางมะผ้า : โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1) ขั้นวางแผน (Plan) ทีมแกนน า
สร้างสุขวางแผนการน ารูปแบบการสร้างสุขด้วยสติในองค์กรมาใช้ในองค์กร โดยการวางแผน
ั
การอบรมให้บุคลากรได้เข้ามามีส่วนร่วมออกแบบกระบวนการเรียนรู้ตามรูปแบบคู่มือการพฒนา
จิตตปัญญาในองค์กรของอาจารย์นายแพทย์ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานต์ (2555) 2) ขั้นการปฏิบัติ
ั
(Action) น ารูปแบบการสร้างสุขด้วยสติในองค์กรมาจัดอบรมนอกสถานที่ให้บุคลากร โดยใช้การพฒนา
ั
ั
สมาธิและสติ มาเป็นเครื่องมือในการพฒนาคุณค่าภายในตนเอง ต้องฟงอย่างมีสติเป็นรากฐาน
ของสุนทรียสนทนา (Dialogue) และอภิปรายอย่างสร้างสรรค์ (Creative Discussion) 3) ขั้นการสังเกต
และรวบรวมข้อมูล (Observation) สังเกตการณ์ปฏิบัติ พบว่าบุคลากรส่วนใหญ่จะปฏิบัติได้ดี
ในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ แต่เมื่อขาดการกระตุ้นหรือติดตาม ก็จะหลงลืมไม่ได้ท า ข้อดีที่พบคือ บุคลากร
ุ
มีแนวโน้มที่จะใช้สติในการสนทนาหรือมีปฏิสัมพนธ์กันมากขึ้น ข้อจ ากัดปัญหาอปสรรคที่พบ
ั
มักเกิดจากปัจจัยด้านตัวบุคคล เช่น การไม่ชอบ และ 4) ขั้นสะท้อนข้อมูล (Reflection) คืนข้อมูล
เพอหาข้อสรุปการปรับปรุงวิธีการหรือแนวทางน าไปใช้ต่อเนื่อง หรือขยายลงสู่องค์กรย่อยต่อไป
ื่
จากข้อติดขัดแกนน า MIO ก็ออกแบบการใช้ระฆังสติ การใช้สติกเกอร์ติดไว้ทุก ๆ หน่วยงายย่อย
เพื่อให้เกิดการเตือนตน และมีการเปิดระบบบันทึกเสียงที่เชื้อเชิญให้นั่งสมาธิก่อนการท างาน
4. ความพงพอใจของบุคลากรต่อการใช้กิจกรรมเติมพลังใจ เพอสร้างสุขให้บุคลากร
ึ
ื่
ในเครือข่ายบริการสุขภาพปางมะผ้า : บุคลากรมีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมเติมพลังใจของหน่วยงาน
100% พบว่า ความพงพอใจอยู่ในระดับสูง บุคลากรต้องการให้มีการด าเนินการอย่างต่อเนื่องเพราะ
ึ
เป็นกิจกรรมที่ท าให้รู้สึกผ่อนคลาย มีความสุข มีข้อเสนอแนะให้มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลายขึ้น
197