Page 208 - Bright Spot 2563
P. 208

กระบวนการท างาน

              ปี พ.ศ. 2557
                    1. พัฒนาทีมแกนน าการด าเนินงานโรงพยาบาลสร้างสุข H3 (Happy Holistic Hospital) : แกนน า

                                                                                  ั
              โครงการโรงพยาบาลสร้างสุขซึ่งเลือกแบบเจาะจง จ านวน 18 คน ได้รับการพฒนาในปี 2557
              ด้านภาวะผู้น า ด้าน Personal  Mastery  ด้าน Mental  Models  ด้าน Share  Vision
              ด้าน Team  Learning  ด้าน System  Thinking  และMental  models  ตลอดจนสุขด้วยสติ

              ในองค์กร(MIO) แกนน าสามารถน าความรู้มาประยุกต์ใช้ได้ และจากเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบว่า
              ทีมแกนน า มีสติ มีความนิ่ง มีความคิดที่สุขุมรอบครอบ ช้าลง ไม่ด่วนติดสิน มีการสื่อสารเชิงบวก

                                          ื่
              กับบุคคลใกล้ชิดและผู้ร่วมงานอน ๆ มากขึ้น สามารถเป็นผู้น าในการน ารูปแบบจากการเรียนรู้
              ไปใช้ในกิจกรรมงานประจ า ชีวิตประจ าวันของตนเอง และส่งผลแผ่ขยายไปยังบุคคลรอบข้าง
              ในหลายรูปแบบ เช่น จัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น กิจกรรมเติมพลังใจ จัดการประชุม

              แบบมีส่วนร่วม การจัดการประชุมเพอคลี่คลายปัญหาโดยทีมกระบวนกร จัดกิจกรรมถอดบทเรียน
                                             ื่
              แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่าง ๆ ให้กับองค์กรอย่างเป็นรูปธรรมมาอย่างต่อเนื่อง และในส่วนของปัญหา

              อุปสรรคที่พบคือ ทีมแกนน าบางส่วนไม่สามารถปฏิบัติงานในบทบาทของการขับเคลื่อนการสร้างสุข
                                                                                            ั
              ขององค์กรในภาพรวมได้ทุกคน เนื่องจากภาระงาน และข้อจ ากดต่าง ๆ แนวทางที่ต้องพฒนา
                                                                      ั
              ต่อคือการส่งเสริมให้ทีมแกนน า ได้มีบทบาทในการด าเนินกิจกรรมการสร้างสุขขององค์กรตามแผน
              อย่างต่อเนื่อง และการเสริมพลังแกทีมแกนน า โดยผู้น าองค์กร และผู้บริหารองคกร เพื่อให้ทีมแกนน า
                                          ่
                                                                               ์
              มีก าลังใจที่ดีในการด าเนินการต่อไป
                    2.  Need  assessment  แบบมีส่วนร่วมของบุคลากรเครือข่ายบริการสุขภาพปางมะผ้า :
              เป็นการส ารวจความต้องการของบุคลากรในองค์กร โดยใช้กระบวนการ Focus  Group  ก่อนเริ่ม
              ด าเนินโครงการเพอให้ทราบถึงสภาพความสุข ความทุกข์ ตลอดจนความต้องการในการท างาน
                              ื่
                                                                         ื่
              การใช้ชีวิตปัจจุบัน และความคาดหวังต่าง ๆ ต่อตนเองและองค์กร เพอวางอนาคตอย่างมีทิศทาง
              ตอบสนองต่อความต้องการของบุคลากร ในการน าองค์กรสู่องค์กรสร้างสุขของเครือข่าย

              บริการสุขภาพปางมะผ้า ด าเนินการปี 2556 ครอบคลุมร้อยละ 80 ของบุคลากร ผลมีดังนี้
              ด้านต่อตนเอง ประกอบด้วย
                         (1) ด้านร่างกาย ได้แก่ การมีสุขภาพกาย กายสบาย อายุยืน สุขภาพดี มีก าลังท าใน

              สิ่งที่ดี ยิ้มแย้มให้กัน
                         (2) ด้านอารมณ์ ได้แก่ ความรู้สึก ความคิด มีสติ อารมณ์ดี จิตใจดี มีความพอใจ สดชื่น

              ใจสงบ ไม่เครียด มีความสุขในการท างาน พึงพอใจได้รับในสิ่งที่หวัง รับได้กับความสุข ทุกข์ที่มี
                         (3) ด้านพฤติกรรม ได้แก่ สุภาพ เรียบร้อย ไม่วุ่นวาย เป็นคนดีของสังคม ท าดี พูดดี













                                                                                           194
   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213