Page 257 - Bright Spot 2563
P. 257
ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการด าเนินงานจึงได้มีการทบทวนและวิเคราะห์ผลการด าเนินงาน
ื่
ที่ผ่านมา และจัดท าแผนสร้างสุขในด้านต่างๆที่เหลือเพอให้เกิดความยั่งยืน และเป็นองค์กรคุณธรรม
น าสุขเพราะเจ้าหน้าที่ทุกคนเป็นกลไกส าคัญที่จะขับเคลื่อนให้องค์กรก้าวเดินไปข้างหน้าได้อย่างมี
ื่
เสถียรภาพ ความสุขในที่ท างานจึงมีความส าคัญที่เจ้าหน้าที่ทุกระดับต้องการ เพอให้ร่างกายพร้อม
จิตใจพร้อมที่จะขับเคลื่อนงานต่างๆให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ที่วางไว้ “พจิตรน่าอยู่ ประชาชนสุขภาพดี
ิ
ทุกภาคีมีส่วนร่วม เจ้าหน้าที่มีความสุข” ต่อไป
ผลลัพธ์การด าเนินงาน
ี่
จากเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุขทก าหนดให้บุคลากรสาธารณสุขของหน่วยงานมีระดับ
ความสุขในแต่ละมิติ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ซึ่งจากการส ารวจในปี 2562 (Happinomiter) พบว่า
ค่าเฉลี่ย ระดับความสุขของบุคลากรสาธารณสุขในส านักงานสาธารณสุขจังหวัดพจิตร อยู่ที่ ร้อยละ
ิ
58.45 ซึ่งยังไม่ได้ตามเกณฑ์ที่ก าหนด แต่จากการประเมินผลงาน( Process & Out put) ในปี 2563
พบว่า
1. กิจกรรมในการสร้างสุขแต่ละมิติ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50
2. บุคลากรในสังกัด เข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น อย่างน้อยร้อยละ 80
ั
ั
3. สัมพนธภาพอนดีต่อกันกระจายทั่วองค์กร (จากการสังเกต) เช่นมีการร่วมรับประทาน
อาหาร กลางวันร่วมกันในแต่ละกลุ่มงานรวมทั้งมีกิจกรรมร่วมกันระหว่างกลุ่มงาน
4. ไม่พบการทะเลาะวิวาทในองค์กร
ขั้นตอนการด าเนินงาน
1. แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะท างาน
2. ส ารวจข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
3. วิเคราะห์ข้อมูล จากโปรแกรม Happinometer
4. จัดท ารายงานน าเสนอผู้บริหาร
5. จัดประชุมผู้เกี่ยวข้อง จัดท าแผนพัฒนาองค์กรคุณธรรมน าสุข
6. ด าเนินการตามแผน
7. ประเมินผลงาน
ปัจจัยแห่งความส าเร็จ
1. ผู้บริหารระดับสูงนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด และรองๆทุกท่านให้ความส าคัญ
2. ผู้บริหารระดับหัวหน้ากลุ่มงานให้การสนับสนุนกิจกรรม
3. ผู้ปฏิบัติงานให้ความร่วมมือในการขับเคลื่อน
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
ประเมินผลความสุขใน 4 มิติ ในปี 2564
243