Page 270 - Bright Spot 2563
P. 270
Success Story หรือ Bright Spot จากการด าเนินงานหน่วยงานแห่งความสุข
หน่วยงาน ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอบึงนาราง
(โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบึงนาราง)
ประเด็น Success story หรือ Bright spot
“ถุงสารส้ม” ภูมิปัญญาไทย ป้องกันภัยไข้เลือดออก
บทสรุปผู้บริหาร
การพฒนาระบบสุขภาพแบบมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายโดยการพฒนาคุณภาพชีวิต
ั
ั
ู
ื้
ของประชาชนในพื้นที่ บนพื้นฐานการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟนฟสุขภาพแบบองค์รวมนั้น มิใช่
การด าเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลเพยงหน่วยงานเดียว แต่ยังต้องอาศัย
ี
ื้
การมีส่วนร่วมขององค์กรและเครือข่าย ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนในพนที่อย่างมีส่วนร่วม
คณะกรรมการพฒนาคุณภาพชีวิตอาเภอบึงนาราง โดยมีนายอาเภอบึงนารางเป็นประธาน
ั
คณะกรรมการขับเคลื่อนประเด็นด้านสุขภาพใน 6 ประเด็นหลัก ได้แก่ ยาเสพติด/อบัติเหตุ/
ุ
การตั้งครรภ์ก่อนวัยอนควร การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม โรคเรื้อรัง ไข้เลือดออก การดูแลผู้สูงอายุ
ั
ระยะยาว และอาหารปลอดภัยลดใช้สารเคมี ซึ่งประเด็นขับเคลื่อนด้านสุขภาพทั้ง 6 ประเด็น
ดังกล่าว ผ่านการประชาคมในระดับหมู่บ้านและระดับต าบล โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน
และภาคีเครือข่าย ในการได้มาซึ่งปัญหาด้านสุขภาพที่ส าคัญ สู่การจัดล าดับความส าคัญของปัญหา
และการวางแผนการด าเนินงานพฒนาคุณภาพชีวิตในระดับอาเภอทั้ง 6 ประเด็นดังกล่าว
ั
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบึงนาราง ได้ขับเคลื่อนประเด็นด้านสุขภาพทั้ง 6 ประเด็น
โดยได้รับสนับสนุนด้านงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพต าบลบึงนาราง ประเด็นปัญหา
ื้
ส าคัญล าดับ 1 ของต าบลบึงนาราง คือ โรคไข้เลือดออก ซึ่งประชาชนและผู้น าชุมชนในพนที่
ั
ให้ความส าคัญในการด าเนินการแก้ไขปัญหา โดยมีเป้าหมายเพอลดอตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่น าโดย
ื่
ุ
ยุงลาย เช่น โรคไข้เลือดออก และโรคติดเชื้อไวรัสซิกาซึ่งเป็นโรคอบัติใหม่ในพนที่ ต าบลบึงนาราง
ื้
โดยได้มีการทดลองใช้สารส้ม ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีมาแต่โบราณในการป้องกนลูกน้ า
ั
ยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรค ผลการทดลองพบว่าสารส้มมีประสิทธิภาพในการป้องกันลูกน้ ายุงลาย
ื้
จึงได้น าผลลัพธ์จากการทดลองใช้สารส้มเป็นนวัตกรรมดังกล่าว ขยายต่อในพนที่หมู่ 5 และ
ื้
ื้
หมู่ 6 ต าบลบึงนาราง (จากพนที่รับผิดชอบทั้งหมด 10 หมู่บ้าน) ผลการด าเนินงานในพนที่
ทั้ง 2 หมู่บ้านพบว่า ประชาชน และผู้น าชุมชนให้ความสนใจ และมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน
การใช้นวัตกรรมถุงสารส้ม ผลลัพธ์จากการใช้นวัตกรรม สารส้มพบว่าค่าดัชนีลูกน้ ายุงลาย
ึ
ของหมู่บ้านลดลง หลังใช้ประชาชนมีความพงพอใจต่อนวัตกรรมในระดับหนึ่งพอใจมากมากกว่า
ร้อยละ 9 0 รวมทั้งผลในระยะยาวที่ลดการใช้สารเคมีจากทรายเทมีฟอส ลดค่าใช้จ่าย
ั
หรืองบประมาณที่เกี่ยวข้อง และลดอตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่มีผลสัมฤทธิ์
ที่ดีและสามารถน าไปเผยแพร่ใช้ได้อย่างกว้างขวาง
256