Page 17 - Final KM Master Plan 050364
P. 17
จากแผนการด าเนินการดังกล่าวสอดคล้องกับแผนการจัดการความรู้ เรื่อง การก าหนดผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียที่ส าคัญ และสารสนเทศ/ความรู้ที่ต้องการจากหน่วยงานภายนอก (ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) การก าหนด
วิธีการถ่ายทอด และการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนสารสนเทศ/ความรู้ ซึ่งสารสนเทศต่างๆ ที่ได้มาจะต้องน ามาสร้าง
ิ่
คุณค่าเพมผ่านความร่วมมือ การเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติที่ดี (Good Practices) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเผยแพร่
ความรู้เรื่องการค้า การลงทุนระหว่างประเทศสู่ผู้ประกอบการและผู้สนใจอย่างต่อเนื่อง และการสร้างเครือข่าย
ั
พนธมิตร เป็นสิ่งที่ธสน. ด าเนินการอย่างต่อเนื่อง และมีแนวทางที่ชัดเจน ท าให้เกิดการถ่ายโอนองค์ความรู้
จากธสน. สู่ภายนอก และในขณะเดียวกันความร่วมมือต่างๆ ท าให้เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้เข้ามาสู่
พนักงานธสน. เช่นกัน
1.1.8 แผนบริหารความเสี่ยง ปี 2564
แผนบริหารความเสี่ยงปี 2564 ได้มีการบูรณาการกับแผนธุรกิจประจ าปี 2564 รวมทั้งจัดท า Risk
Inventory ที่ครอบคลุมโอกาส (Opportunities : O) โอกาสเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Opportunities : SO)
ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Challenges : SC) เชื่อมโยงกับตัวชี้วัดและดัชนีชี้วัดความเสี่ยง (Key
Risk Indicators: KRIs) โดยแผนบริหารความเสี่ยงประจ าปี 2564 มีรายละเอียด ดังนี้ 1) การก าหนดดัชนีชี้วัด
ความเสี่ยง (Key Risk Indicators: KRIs) เกณฑ์ Risk Appetite & Risk Tolerance และเกณฑ์การประเมิน
ความเสี่ยง2) ผลการประเมินความเสี่ยงตามตัวชี้วัดระดับองค์กร ตัวชี้วัดระดับยุทธศาสตร์ และตัวชี้วัดระดับกล
ยุทธ์ ประจ าปี 2564 3) Risk Correlation Maps 4) การทบทวนดัชนีชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicators:
KRIs) Risk Appetite & Risk Tolerance จ าแนกตามประเภทความเสี่ยง และ 5) Portfolio View of Risk
ทั้งนี้ แผนบริหารความเสี่ยง ปี 2564 ได้ระบุปัจจัยเสี่ยง (Risk Factors) ได้แก่ F3 ยอดคงค้างเงินให้
สินเชื่อระยะสั้น และระยะยาวในต่างประเทศไม่เป็นไปตามเป้าหมาย โดยระบุถึงสาเหตุประการหนึ่ง คือ
ี
พนักงานไม่มีการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างทีมงาน/ฝ่าย/สายงานที่เพยงพอ รวมถึงขาดพนักงานที่มีความ
ช านาญ และมีประสบการณ์หรืออตราก าลังไม่เพยงพอ ซึ่งธสน. มีมาตรการจัดการ คือ จัดอบรมให้ความรู้
ั
ี
พนักงานอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมี Case Study ในปริมาณที่มากเพียงพอ เพื่อให้มีประสบการณ ์
การวิเคราะห์และสรุปประเด็นความเชื่อมโยงของแผนบริหารความเสี่ยง ปี 2564
จากการระบุปัจจัยเสี่ยงดังกล่าว มีความเชื่อมโยงกับการจัดการความรู้ขององค์กร โดยการส่งเสริมให้มี
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ปฏิบัติงาน ทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ จะเป็นโอกาสที่ช่วยลด
ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน เป็นโอกาสในการต่อยอดองค์ความรู้ ท าให้เกิดแนวทางปฏิบัติที่ดีในการ
ท างาน ซึ่งเป็นบทบาทส าคัญของการจัดการความรู้ ซึ่งแม้ว่าในปัจจุบันจะมีการด าเนินการในเรื่องดังกล่าวแล้ว แต่
พบว่า เป็นการด าเนินการเฉพาะบางฝ่ายงาน จึงจ าเป็นต้องมีการส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพมขึ้น
ิ่
ื่
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความรู้จากประสบการณ์ในการท างานและข้อผิดพลาดที่พบได้บ่อยๆ เพอลดความเสี่ยงและ
ข้อผิดพลาดในการท างาน
16