Page 5 - tmp
P. 5
ั
ใบความรู้ที่ 2 เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ร่วมสมย
เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ร่วมสมัยในกลุ่มการเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) หมายถึง การ
จัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ร่วมมือกันในกลุ่มย่อยๆ เน้นการสร้างปฏิสัมพนธ์ระหว่างผู้เรียน ในแต่ละกลุ่ม
ั
จะมีสมาชิกที่มีความรู้ความสามารถแตกต่างกัน ผู้เรียนแต่ละคนจะต้องร่วมมือกันในการเรียนรู้ร่วมกัน มีการ
่
ช่วยเหลือและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ให้ก าลังใจซึ่งกันและกัน คนที่เก่งกว่าจะช่วยคนที่ออนกว่า สมาชิกในกลุ่ม
จะต้องร่วมกันรับผิดชอบค่อการเรียนรู้ของเพอนสมาชิกทุกคนในกลุ่ม เพราะมีแนวคิดว่าความส าเร็จของสมาชิก
ื่
ทุกคนจะรวมเป็นความส าเร็จของกลุ่ม
เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ร่วมสมัยในกลุ่มการเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) มีลักษณะ
ส าคัญคือ เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนต้องท างานร่วมกันเป็นกลุ่ม และการจัดกลุ่มของการเรียนแบบร่วมมือจะ
ให้ความส าคัญกับการจัดกลุ่มแบบคละเพศ คละความสามารถ คละเชื้อชาติฯลฯ เทคนิคการจัดกลุ่มที่ครูผู้สอน
นิยมใช้โดยทั่วไป เช่น เกมการจัดกลุ่มโดยใช้บัตรค า บัตรภาพ โดยให้ผู้เรียนที่ได้บัตรค า บัตรภาพลักษณะเดียวกัน
มาเข้ากลุ่มกัน หรืออาจให้ผู้เรียนนับเลข 1, 2, 3, ... ผู้เรียนที่ได้หมายเลขเดียวกันก็จัดกลุ่มอยู่ด้วยกัน การจัดกลุ่ม
ื่
ในลักษณะดังกล่าวมานี้นับว่าไม่เหมาะกับการจัดกลุ่มเพอเรียนแบบร่วมมือ เพราะมีโอกาสที่ผู้เรียนจะไม่คละเพศ
ไม่คละความสามารถ ดังนั้น การจัดกลุ่มส าหรับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมอควรมุ่งเน้นในการให้กลุ่มผู้เรียนแต่ละ
ื
กลุ่มมีการคละความสามารถเป็นหลัก โดยทั่วไปจะมีการแบ่งระดับความสามารถเป็น 3 ระดับ ได้แก่ เก่ง ปานกลาง
่
และออน ซึ่งหากพจารณาผู้เรียนในห้องจะพบว่าเด็กเก่งและเด็กออนจะมีจ านวนน้อยกว่าเมื่อเทียบกับเด็กที่มี
ิ
่
ความสามารถระดับปานกลาง ท าให้การจัดกลุ่มอาจมีผู้เรียนในแต่ละระดับความสามารถมากน้อยต่างกัน เช่น ใน
1 กลุ่ม มีเด็กเก่ง 1 คน ปานกลาง 3 คน และออน 1 คน เป็นต้น และการได้มาซึ่งระดับความสามารถที่คละกัน
่
ลักษณะนี้ครูผู้สอนมีหน้าที่ในการจัดการแบ่งระดับความสามารถ เช่น การพจารณาจากผลคะแนนการสอบเก็บ
ิ
คะแนนที่ผ่านมา, การพิจารณาจากคะแนน GPA, การพิจารณาจากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ เป็นต้น
การน าเสนอเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ร่วมสมัยในกลุ่มการเรียนแบบร่วมมือในครั้งนี้จะน าเสนอ จ านวน
4 เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ได้แก่ แบบทีมช่วยเหลือผู้เรียนรายบุคคล (Team
ั
Assisted Individualization: TAI) และ แบบทีมเกมแข่งขน (Team Game Tournament: TGT) และส่วนที่ 2
ได้แก่ แบบจิ้กซอว์ (JIGSAW) และ แบบซีไออาร์ซี (CIRC) ดังรายละเอียดต่อไปนี้
เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้แบบทีมช่วยเหลือรายบุคคล (Team Assisted Individualization: TAI)
เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ร่วมสมัยในกลุ่มการเรียนแบบร่วมมือแบบทีมช่วยเหลือรายบุคคล (Team
Assisted Individualization: TAI) เป็นเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ในการทบทวนบทเรียนหรืออธิบาย
บทเรียน เมื่อผู้สอนและผู้เรียนได้อภิปรายความรู้ในบทเรียนหรือทบทวนบทเรียนเมื่อเข้าใจดีแล้ว ผู้สอนจะน าแบบ