Page 20 - แฟ้มประเมินด้านที่ 1 ตัวชี้วัด 1.5
P. 20

11






                             8.  เสนอเนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเป็นการอธิบายเนื้อหาให้กับผู้เรียน โดยใช้สื่อชนิดต่างๆ ในรูป

                      กราฟิก หรือ เสียง วิดีโอ

                                                                                                      ื่
                             9.  การยกตัวอย่าง การยกตัวอย่างสามารถท าได้โดยยกกรณีศึกษา การเปรียบเทียบ เพอให้
                      เข้าใจได้ซาบซึ้ง

                                                ื่
                             10.  การฝึกปฏิบัติ เพอให้เกิดทักษะหรือพฤติกรรม เป็นการวัดความเข้าใจว่าผู้เรียนได้เรียน
                      ถูกต้อง เพื่อให้เกิดการอธิบายซ้ าเมื่อรับสิ่งที่ผิด
                             11.  การให้ค าแนะน าเพิ่มเติม เช่น การท าแบบฝึกหัด โดยมีค าแนะน า

                             12.  การสอบ เพื่อวัดระดับความเข้าใจ

                                                                              ิ่
                             13.  การน าไปใช้กับงานที่ท าในการท าสื่อควรมี เนื้อหาเพมเติม หรือหัวข้อต่างๆ ที่ควรจะรู้
                      เพิ่มเติม


                      ทฤษฏีเครื่องล่อ

                             นักจิตวิทยากลุ่มพฤติกรรมนิยม  มีความเห็นว่า  การกระท าทุกอย่างของบุคคลไม่ได้เป็นไป
                                        ี
                      ตามทฤษฏีแรงขับเพยงอย่างเดียว  ทั้งนี้เพราะพบว่า  พฤติกรรมบางอย่างของบุคคลไม่ได้เกิดจาก
                      ความพยายามที่จะลดแรงขับเท่านั้น แต่ยังมีสิ่งเร้าจากภายนอกร่างกายอีกมากมายที่เรียกว่า เครื่องล่อ

                      หรือสิ่งล่อใจ ซึ่งมีบทบาทส าคัญในการกระตุ้นให้บุคคลเกิดแรงจูงใจที่จะท ากิจกรรมต่าง ๆ ได้ดีพอๆ
                                                                   ั
                      กับแรงขับ จึงอาจกล่าวได้ว่าการจูงใจเป็นปฏิสัมพนธ์ระหว่างองค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมกับ
                      องค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมกับองค์ประกอบทางร่างกายของบุคคล

                                              ี
                             นอกจากนั้นยังพบอกว่า การที่บุคคลพยายามลดความเครียดโดยการแสวงหาความสมดุลนั้น
                                                                                ิ่
                      หาได้เป็นสิ่งที่ถูกต้องเสมอไปไม่ทั้งนี้เพราะบางครั้งบุคคลยังพยายามเพมความเครียดให้กับจนเองด้วย
                      วิธีต่าง ๆ เช่น เข้าร่วมการแข่งรถ ดูภาพยนตร์ประเภทฆาตกรรม การเล่นสกีจากภูเขาสูง ๆ หรือการ

                      เล่นกับของเล่นประเภทตื่นเต้นหวาดเสียวในสวนสนุก เป็นต้น กิจกรรมที่กล่าวมานี้ล้วนเป็นสิ่งที่ท าให้
                      เกิดความตื่นเต้นและมีความเครียดสูงทั้งสิ้น  แสดงว่าความตื่นเต้นสามารถใช้เป็นเครื่องล่อให้บุคคลท า

                      กิจกรรมได้ แม้ว่าจะเป็นการเพมความเครียดขึ้นมาก็ตาม อย่างไรก็ดีแนวโน้มว่าทั้งมนุษย์และสัตว์จะ
                                                ิ่
                                                                               ึ
                      เข้าใกล้ หรือแสวงหาเครื่องล่อที่ท าให้ตนเองมีความสุขมีความพงพอใจ พยายามหลีกหนี หรือ
                      หลีกเลี่ยงจากสิ่งที่ท าให้ตนเองได้รับความเจ็บปวด ความทุกข์ หรือความไม่พึงพอใจ



                      ควำมส ำคัญของแรงจูงใจในกำรเรียนกำรสอน
                             แรงจูงใจเป็นองค์ประกอบที่ส าคัญในการเรียนรู้ ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนของผู้เรียนนอกจากจะ

                      ขึ้นอยู่กับสติปัญญาและความสามารถแล้วยังขึ้นอยู่กับแรงจูงใจ ผู้เรียนที่มีความสามารถสูงแต่ขาด
                      แรงจูงใจการเรียนก็จะมีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนต่ า เพราะการที่บุคคลเกิดแรงจูงใจที่จะท าพฤติกรรม
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25