Page 21 - แฟ้มประเมินด้านที่ 1 ตัวชี้วัด 1.5
P. 21
12
ย่อมท าให้พฤติกรรมหรือการเรียนรู้ในสิ่งนั้น ๆ มีประสิทธิภาพและเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วมากกว่า
ิ
บุคคลที่ไม่เกิดแรงจูงใจ ดังนั้นการสร้างแรงจูงใจให้เกดขึ้นในตัวผู้เรียนจึงเป็นสิ่งส าคัญยิ่งในการจัดการ
เรียนสอน ดังที่ ลิมอักษร กล่าวถึง ความส าคัญของการจูงใจในการเรียนการสอนไว้ดังนี้
1. การจูงใจสามารถกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ ความตั้งใจ และมีมานะพยายามในการ
เรียน การเข้าร่วมกิจกรรมหรือการท างานต่าง ๆ
2. การจูงใจช่วยให้ผู้เรียนประสบความส าเร็จในการเรียน และการท างานตามความสามารถ
และความถนัดที่มีอยู่อย่างเต็มที่
3. การจูงใจจะช่วยกระตุ้น และแนะแนวทางให้ผู้เรียนประพฤติตนในทางที่ดีงามและ
ั
เหมาะสม เช่น ประพฤติปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ วินัย วัฒนธรรม และศีลธรรมอนดีงามของสังคม เป็น
ต้น
4. การจูงใจจะช่วยให้ผู้เรียนได้ทราบระดับความสามารถของตนส าหรับท ากิจกรรมต่าง ๆ
เช่น การสอบแข่งขันความรู้ทางวิชาการ หรือการประกวดงานฝีมือ ทั้งยังมีโอกาสได้ทราบถึงความ
ถนัดและความสามารถของตน อันจะน าไปสู่การพิจารณาในการตัดสินใจเลือกอาชีพในอนาคตด้วย
5. การจูงใจจะช่วยปลูกฝังเจตคติที่ดีต่อการเรียน การท างาน หรือการเข้าร่วมกิจกรรมทาง
สังคม
6. การจูงใจจะให้ผู้เรียนทราบถึงความกาวหน้าของตนเอง ซึ่งจะมีส่วนช่วยบุคคลให้พยายาม
้
ู
ิ่
รักษาและเพมพนความสามารถขึ้นไปเรื่อย ๆ และช่วยให้ทราบถึงข้อบ่งพร่องต่าง ๆ ของตนเอง และ
ป้องกันไม่ให้มีความผิดพลาดเกิดขึ้นซ้ าอีก ตลอดจนการแก้ไขความผิดพลาดให้หมดไปด้วย
บทที่ 3
วิธีด ำเนินกำรวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพอศึกษาแก้ไขปัญหาการไม่สนใจเรียนวิชาดนตรีไทย ของ
ื่
ุ
นักเรียนชายระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนเจริญรัฐอปถัมภ์ โดยการให้คะแนนสะสม โดย
ผู้วิจัยได้ด าเนินการศึกษาตามล าดับ ดังนี้
1. วิธีด าเนินการวิจัย
2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง