Page 17 - แฟ้มประเมินด้านที่ 1 ตัวชี้วัด 1.5
P. 17

8






                                            ื่
                      หาทางระบายออกกับผู้อน หรืออาจจะเนื่องมาจากการเลียนแบบ บุคคลหรือจากสื่อต่าง ๆ ผู้มี
                      แรงจูงใจใฝ่ก้าวร้าว จะมีลักษณะที่ส าคัญดังนี้

                                     1.  ถือความคิดเห็นหรือความส าคัญของตนเป็นใหญ่
                                     2.  ชอบท าร้ายผู้อื่น ทั้งการท าร้ายด้วยกายหรือวาจา

                             5.  แรงจูงใจใฝ่พึ่งพำ (Dependency Motive) สาเหตุของการมีแรงจูงใจแบบนี้ก็เพราะการ

                               ่
                      เลี้ยงดูที่พอแม่ทะนุถนอมมากเกินไป ไม่เปิดโอกาสให้เด็กได้ช่วยเหลือตนเอง ผู้ที่มีแรงจูงใจใฝ่ พงพา
                                                                                                      ึ่
                      จะมีลักษณะส าคัญ ดังนี้
                                     1.  ไม่มั่นใจในตนเอง

                                     2.  ไม่กล้าตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ ด้วยตนเอง มักจะลังเล
                                     3.  ไม่กล้าเสี่ยง

                                     4.  ต้องการความช่วยเหลือและก าลังใจจากผู้อื่น


                      ลักษณะของแรงจูงใจ

                             นักจิตวิทยาได้แบ่งลักษณะของแรงจูงใจออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้

                             -  กลุ่มที่1  แรงจูงใจฉับพลัน (Aroused  Motive)  คือแรงจูงใจที่กระตุ้นให้มนุษย์แสดง
                      พฤติกรรม ออกมาทันทีทันใด แรงจูงใจสะสม (Motivational Disposition หรือ Latent Motive) คือ

                      แรงจูงใจที่มีอยู่แต่ไม่ได้แสดงออกทันที จะค่อย ๆ เก็บสะสมไว้รอการแสดงออกในเวลา ใดเวลาหนึ่งต่อ

                             -  กลุ่มที่ 2  แรงจูงใจภายใน (Intrinsic  Motive)  คือแรงจูงใจที่ได้รับอทธิพลมาจากสิ่งเร้า
                                                                                          ิ
                      ภายในตัวของบุคคลผู้นั้น

                                                                                  ั
                             -  กลุ่มที่ 3 แรงจูงใจปฐมภูมิ (Primary Motive) คือแรงจูงใจอนเนื่องมาจากความต้องการที่
                      เห็นพื้นฐานทางร่างกาย เช่น ความหิว, กระหาย แรงจูงใจทุติยภูมิ (Secondary Motive) คือแรงจูงใจ
                      ที่เป็นผลต่อเนื่องมาจากแรงจูงใจขั้นปฐมภูมิ


                      ทฤษฎีกำรเรียนรู้

                             ทฤษฎีกำรเรียนรู้ (learning  theory)  การเรียนรู้คือกระบวนการที่ท าให้คนเปลี่ยนแปลง
                      พฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรียนได้จากการได้ยินการสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยี การเรียนรู้

                      ของเด็กและผู้ใหญ่จะต่างกัน เด็กจะเรียนรู้ด้วยการเรียนในห้อง การซักถาม ผู้ใหญ่มักเรียนรู้ด้วย

                                                                                                       ั
                      ประสบการณ์ที่มีอยู่ แต่การเรียนรู้จะเกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่ผู้สอนน าเสนอ โดยการปฏิสัมพนธ์
                      ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผู้สอนจะเป็นผู้ที่สร้างบรรยากาศทางจิตวิทยาที่เอออานวยต่อการเรียนรู้ ที่
                                                                                     ื้

                      จะให้เกิดขึ้นเป็นรูปแบบใดก็ได้เช่น ความเป็นกันเอง ความเข้มงวดกวดขัน หรือความไม่มีระเบียบวินัย
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22