Page 13 - แฟ้มประเมินด้านที่ 1 ตัวชี้วัด 1.5
P. 13
4
ทางบวกที่ส่งผลเร้าให้มนุษย์มีความต้อง การแสดงพฤติกรรมในทิศทางนั้นมากยิ่งขึ้นทฤษฎีนี้เน้น
ความส าคัญของสิ่งเร้าภายนอก (Extrinsic Motivation)
ทฤษฎีกำรเรียนรู้ทำงสังคม (Social Learning View of Motivation)
ทฤษฎีนี้เห็นว่าแรงจูงใจเกิดจากการเรียนรู้ทางสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างเอกลักษณ์
และการเลียนแบบ (Identification and Imitation) จากบุคคลที่ตนเองชื่นชม หรือคนที่มีชื่อเสียงใน
สังคมจะเป็นแรงจูงใจที่ส าคัญในการแสดงพฤติกรรมของบุคคล
ทฤษฎีพุทธินิยม (Cognitive View of Motivation)
ทฤษฎีนี้เห็นว่าแรงจูงใจในการกระท าพฤติกรรมของมนุษย์นั้นขึ้นอยู่กับการรับรู้ (Perceive)
สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว โดยอาศัยความสามารถทางปัญญาเป็นส าคัญ มนุษย์จะได้รับแรงผลักดันจาก
หลาย ๆ ทางในการแสดงพฤติกรรม ซึ่งในสภาพเช่นนี้ มนุษย์จะเกิดสภาพความไม่สมดุล
(Disequilibrium) ขึ้น เมื่อเกิดสภาพเช่นว่านี้มนุษย์จะต้อง อาศัยขบวนการดูดซึม (Assimilation)
และการปรับ (Accomodation) ความแตกต่างของประสบการณ์ที่ได้รับใหม่ให้ เข้ากับประสบการณ์
เดิมของตนซึ่งการจะท าได้จะต้องอาศัยสติปัญญาเป็นพื้นฐานที่ส าคัญทฤษฎีนี้เน้นเรื่องแรงจูง ใจภายใน
(intrinsic Motivation) นอกจากนั้นทฤษฎีนี้ยังให้ความส าคัญกับเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และการ
วางแผน ทฤษฎีนี้ให้ความส าคัญกับระดับของความคาดหวัง (Level of Aspiration) โดยที่เขากล่าวว่า
คนเรามีแนวโน้มที่จะตั้ง ความคาดหวังของตนเองให้สูงขึ้น เมื่อเขาท างานหนึ่งส าเร็จ และตรงกัน ข้าม
คือจะตั้งความคาดหวังของตนเองต่ าลง เมื่อเขาท างานหนึ่งแล้วล้มเหลว
ทฤษฎีมนุษยนิยม (Humanistic View of Motivation)
แนวความคิดนี้เป็นของมาสโลว์ (Maslow) ที่ได้อธิบายถึงล าดับความต้องการของมนุษย์ โดย
ื่
ที่ความต้องการจะเป็น ตัวกระตุ้นให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมเพอไปสู่ความต้องการนั้น ดังนี้ถ้าเข้า
ใจความต้องการของมนุษย์ก็สามารถ อธิบายถึงเรื่องแรงจูงใจของมนุษย์ได้เช่นเดียวกัน
ควำมหมำยของแรงจูงใจ
มีนักจิตวิทยาหลายท่านได้ให้ความหมายค าว่า “ แรงจูงใจ” ไว้หลายท่านดังนี้ ไครเดอร์ และ
คณะ ให้ความหมายว่า แรงจูงใจ หมายถึง ความปรารถนา ความต้องการ และความสนใจที่มาเร้าหรือ
กระตุ้นอินทรีย์ และน าอินทรีย์ไปสู่จุดหมายปลายทางที่เจาะจง
ดีเวค กล่าวว่า แรงจูงใจ คือ แนวทางที่จะไปสู่เป้าหมาย เป็นสิ่งที่ช่วยอธิบายว่า ท าไมเราจึง
ท าพฤติกรรมดังที่เป็นอยู่
พวงเพชร วัชรอยู่ กล่าวว่า ความหมายอย่างกว้างๆ ของแรงจูงใจ หมายถึง สิ่งใด ๆ ที่ท า
ให้เกิดพฤติกรรมหรือการกระท าขึ้น
มาลินี จุฑารพ กล่าวว่า แรงที่มากระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรมตามความต้องการหรือตาม
จุดมุ่งหมายที่ก าหนดไว้นั้น เรียกว่า แรงจูงใจ