Page 12 - แฟ้มประเมินด้านที่ 1 ตัวชี้วัด 1.5
P. 12
3
บทที่ 2
แนวคิดทฤษฏีและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาการไม่สนใจเรียนของนักเรียนชาย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนเจริญรัฐอุปถัมภ์ โดยมีหัวข้อดังนี้
1. ทฤษฎีแรงจูงใจ
2. ความหมายของแรงจูงใจ
3. องค์ประกอบของแรงจูงใจ
4. ประเภทของแรงจูงใจ
5. ลักษณะของแรงจูงใจ
6. ทฤษฎีการเรียนรู้
7. ทฤษฏีเครื่องล่อ
8. ความส าคัญของแรงจูงใจในการเรียนการสอน
ั
แรงจูงใจ (Motivation) คือ สิ่งซึ่งควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ อนเกิดจากความต้องการ
(Needs) พลังกดดัน (Drives) หรือ ความปรารถนา (Desires) ที่จะพยายามดิ้นรนเพอให้บรรลุผล
ื่
ส าเร็จตามวัตถุประสงค์ ซึ่งอาจจะเกิดมาตามธรรมชาติหรือจากการเรียนรู้ก็ได้ แรงจูงใจเกิดจากสิ่งเร้า
ทั้งภายในและภายนอกตัวบุคคลนั้น ๆ เอง ภายใน ได้แก่ ความรู้สึกต้องการ หรือขาดอะไรบางอย่าง
ื่
จึงเป็นพลังชักจูง หรือกระตุ้นให้มนุษย์ประกอบกิจกรรมเพอทดแทนสิ่งที่ขาดหรือต้องการนั้น ส่วน
ภายนอกได้แก่ สิ่งใดก็ตามที่มาเร่งเร้า น าช่องทาง และมาเสริมสร้างความปรารถนาในการประกอบ
ี
กิจกรรมในตัวมนุษย์ ซึ่งแรงจูงใจนี้อาจเกิดจากสิ่งเร้าภายในหรือภายนอก แต่เพยงอย่างเดียว หรือทั้ง
สองอย่างพร้อมกันได้ อาจกล่าวได้ว่า แรงจูงใจท าให้เกิดพฤติกรรมซึ่งเกิดจากความต้องการของมนุษย์
ื่
ซึ่งความต้องการเป็นสิ่งเร้าภายในที่ส าคัญกับการเกิดพฤติกรรม นอกจากนี้ยังมีสิ่งเร้าอน ๆ เช่น การ
ยอมรับของสังคม สภาพบรรยากาศที่เป็นมิตร การบังคับขู่เข็ญ การให้รางวัลหรือก าลังใจหรือการท า
ให้เกิดความพอใจ ล้วนเป็นเหตุจูงใจให้เกิดแรงจูงใจได้
ทฤษฎีแรงจูงใจ แบ่งออกได้เป็นทฤษฎีใหญ่ ๆ คือ
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral View of Motivation)
ทฤษฎี นี้ ให้ความส าคัญกับประสบการณ์ในอดีต (Past Experience) ว่ามีผลต่อแรงจูงใจของ
ิ
บุคคลเป็นอย่างมาก ดังนั้นทุกพฤติกรรมของมนุษย์ถ้าวิเคราะห์ดูแล้วจะเห็นว่าได้รับอทธิพลที่เป็น
แรงจูงใจมาจากประสบการณ์ใน อดีตเป็นส่วนมาก โดยประสบการณ์ในด้านดีและกลายเป็นแรงจูงใจ