Page 14 - แฟ้มประเมินด้านที่ 1 ตัวชี้วัด 1.5
P. 14

5






                             สุรางค์  โค้วตระกูล กล่าวว่า แรงจูงใจ หมายถึง องค์ประกอบที่กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่มี

                      จุดมุ่งหมาย

                                                                                     ิ
                             วิภาพร มาพบสุข ให้ความหมายของแรงจูงใจ หมายถึง ภาวะที่อนทรีย์ถูกกระตุ้นให้แสดง
                      พฤติกรรม เพื่อไปยังจุดหมายปลายทางหรือเป้าหมาย

                             อารี พนธ์มณี กล่าวว่า แรงจูงใจ หมายถึง ภาวะใด ๆ ก็ตามที่มากระตุ้นให้บุคคลแสดง
                                   ั
                      พฤติกรรมออกมา
                             จากความหมายของแรงจูงใจที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นว่า มีผู้ให้ความหมายของแรงจูงใจ

                      แตกต่างกันไป แต่พอสรุปได้ว่า แรงจูงใจมีส่วนเกี่ยวข้องในฐานะเป็นตัวแปรส าคัญต่อพฤติกรรมของ

                                                                                            ี่
                                                  ื่
                      บุคคล และแรงจูงใจถูกน ามาใช้เพออธิบายถึงสาเหตุของพฤติกรรมดังที่ สมโภชน์ เอยมสุภาษิต กล่าว
                                    ี่
                      ว่า เป็นการยากทจะก าหนดความหมายของแรงจูงใจให้ยอบรับได้ส าหรับนักจิตวิทยาทุกคน เนื่องจาก
                      นักจิตวิทยาแต่ละกลุ่มอธิบายความหมายของแรงจูงใจด้วยค าที่แตกต่างกัน แม้ว่าจะกล่าวถึงตัวแปร

                      เดียวกันก็ตาม เขาเสนอความหมายของแรงจูงใจว่า หมายถึง สิ่งที่บุคลคาดหวัง โดยสิ่งนั้นอาจเป็นสิ่งที่
                                           ึ
                             ึ
                      บุคคลพงพอใจหรือไม่พงพอใจก็ได้ ความคาดหวังนี้เป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรม จาก
                      ความหมายดังกล่าว จะเห็นว่า แรงจูงใจมีลักษณะส าคัญ ดังต่อไปนี้

                             1.  เป็นพลังงานที่กระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรม
                             2.  เป็นตัวก าหนดทิศทางและเป้าหมายของพฤติกรรม

                             3.  เป็นตัวก าหนดระดับของความพยายามในการแสดงพฤติกรรม


                      องค์ประกอบของแรงจูงใจ

                             นักจิตวิทยาปัจจุบันได้ศึกษาและสรุปว่า องค์ประกอบของแรงจูงใจ มี 3 ด้านคือ

                             -  องค์ประกอบทางด้านกายภาพ (Biological Factor) ในองค์ประกอบด้านนี้จะพจารณาถึง
                                                                                                  ิ
                      ความต้องการทางกายภาพของมนุษย์ เช่น ความต้องการปัจจัย 4 เพื่อจะด ารงชีวิตอยู่ได้

                             -  องค์ประกอบทางด้านการเรียนรู้ (Learned Factor) องค์ประกอบด้านนี้เป็นผลสืบเนื่องต่อ

                      จากองค์ประกอบข้อ 1 ทั้งนี้เพราะมนุษย์ทุกคนไม่สามารถได้รับการตอบสนองความต้องการในปริมาณ
                      ชนิด และคุณภาพตามที่ตนเองต้องการ และในหลาย ๆ ครั้ง สิ่งแวดล้อมเป็นตัววางเงื่อนไขในการสร้าง

                      แรงจูงใจของมนุษย์

                             -  องค์ประกอบทางด้านความคิด (Cognitive Factor)


                      ประเภทของแรงจูงใจ

                             แรงจูงใจสามารถจ าแนกออกเป็น  2  ประเภท  ได้แก  ่
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19