Page 8 - แฟ้มประเมินด้านที่ 1 ตัวชี้วัด 1.2.2
P. 8
กิจกรรมที่ 1 : แนะน าตัวครูผู้สอน และแนะน ารายวิชา รวม 2 ชั่วโมง
1. กล่าวทักทายนักเรียน พูดคุยท าความรู้จัก สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูผู้สอนและนักเรียน
2. แนะน าเนื้อหาสาระวิชา / จุดประสงค์การเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง / คะแนนเก็บในแต่ละจุดประสงค์
เพื่อการเตรียมตัวก่อนเรียน รู้จักที่จะการวางแผนบริหารจัดการกับเวลาการเรียนและการฝึกซ้อม
3. แนะน าสื่ออุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการเรียนในวิชา ดนตรีไทยภาคปฏิบัติ อังกะลุง ประกอบไปด้วย
เครื่องดนตรี อังกะลุง
แผ่นฟิวเจอร์บอร์ดแสดงโน้ตเพลงยะวา 2 ชั้น
4. แนะน าข้อควรปฏิบัติในการใช้งาน ข้อห้ามที่ควรหลีกเลี่ยง วิธีการการดูแลรักษา เทคนิคต่างๆ โดยจะสาธิต
ประกอบการบรรยายไปด้วย
กิจกรรมที่ 2 : ศึกษา “ อังกะลุง ” ในภาคทฤษฎีและการปฏิบัติจริง รวม 6 ชั่วโมง
ั
1. ครูผู้สอนน าเครื่องดนตรี อังกะลุง มาให้นักเรียนดู จากนั้น อธิบายลักษณะขององกะลุง ส่วนประกอบต่างๆ ลักษณะ
ั
การบรรแลงที่ถูกต้อง เช่น บุคลิก ท่าทางในการนั่ง การจับถือองกะลุง การเขย่าองกะลุงที่ถูกต้อง เขย่าอย่างไรจึงจะให้
ั
ได้เสียงออกมาดี
ั
่
2. ครูผู้สอนน าแผ่นฟวเจอร์บอร์ดแสดงถึงโน้ตองกะลุง ในกรณีศึกษานี้จะใช้เพลงยะวา 2 ชั้น แล้วครูผู้สอนจะอาน
ิ
โน้ตเพลงยะวา 2 ชั้น ให้นักเรียนฟัง เพื่อที่ให้นักเรียนได้เข้าใจถึงจังหวะและท านอง ว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร
3. ให้นักเรียนอ่านโน้ตอังกะลุงเพลงยะวา 2 ชั้น พร้อมปรบมือประกอบจังหวะไปด้วย
ั
ื้
4. ให้นักเรียนฝึกเขย่าองกะลุง โดยเบื้องต้นนั้นจะให้เขย่าในขั้นพนฐาน โดยการเขย่าแบบไล่เสียงในลักษณะเรียงเสียง
จากเสียงต่ าไปเสียงสูง เสียงสูงไปเสียงต่ า หรือสลับเสียง
5. ครูผู้สอนต่อเพลงยะวา 2 ชั้นให้นักเรียน โดยจะต่อทีละวรรคสั้นๆ จนจบทั้งเพลง และให้นักเรียนฝึกซ้อม
กิจกรรมที่ 3 : ฝึกซ้อมพร้อมสอบประเมินผล รวม 2 ชั่วโมง
้
1. ให้นักเรียนร่วมกันฝึกซอม โดยให้นักเรียนเขย่าอังกะลุงในเพลงยะวา 2 ชั้น
2. เมื่อนักเรียนได้ฝึกซ้อมเรียบร้อยแล้ว จึงให้สอบปฏิบัติพร้อมกันทั้งห้องเรียน
8. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
8.1 สื่อ / อุปกรณ์
เครื่องดนตรี “ อังกะลุง ”
โน้ตเพลงยะวา 2 ชั้น
8.2 แหล่งเรียนรู้
สืบค้นทาง Internet www.youtube.com โดยพิมพ์ค าว่า อังกะลุง
ห้องปฏิบัติการดนตรีไทย โรงเรียนเจริญรัฐอุปถัมภ์ มีหนังสือให้นักเรียนได้ศึกษา