Page 10 - ใบความรู้หน่วยที่ 2
P. 10

ส่งกำลังไปขับชุดแคร่เลื่อน ให้เคลื่อนที่เพื่อกลึงตัดชิ้นงานได้ มีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ คันโยกเปลี่ยน
               ความเร็วรอบ คันโยกปรับกลึงเกลียวคันโยกเปลี่ยนทิศทางการหมุนป้อน ชุดเฟืองทดและเพลาหัวเครื่อง


                        2.1.3  ชุดแท่นเลื่อน(Carriage) อยู่ระหว่างชุดหัวเครื่องกับชุดท้ายแท่น เคลื่อนที่ไปมา
               อยู่บนสะพานแท่นเครื่อง ซึ่งประกอบด้วย ชุดแคร่คร่อมสะพานแท่นเครื่องและชุดกล่องเฟือง
                        2.1.4  ชุดเฟืองป้อน ใช้ทดส่งกาลังไปยังเพลานำ และส่งกำลังไปยังเพลาป้อนกลึงอัตโนมัติ สำหรับ

                                                                                             ื่
               เพลานำใช้ในการกลึงเกลียวส่วนเพลาป้อนใช้ในการกลึงปอก และยังส่งกำลังไปยังกล่องเฟืองเพอขับให้แท่น
                                                                                                      ื
               ขวางเคลื่อนที่กลึงปาดหน้าได้ ชุดเฟืองป้อนของเครื่องกลึงแบบเก่า จะเป็นแบบเปิด ส่วนแบบปิดเป็นชุดเฟอง
                     ี่
               ป้อนทพัฒนาให้ใช้งานได้สะดวกมีความปลอดภัยมากขึ้น
                           2.1.5  ชุดท้ายแท่น(Tail Stock) เป็นส่วนประกอบของเครื่องกลึง ซึ่งใช้สาหรับยันศูนย์เพื่อประคอง

               ชิ้นงานที่ยาว ใช้จับยึดหัวจับดอกสว่านหรือดอกสว่านก้านเรียว เพื่อเจาะรูบนเครื่องกลึง และยังใช้ในการต้าน
               เกลียวบนเครื่องกลึง
                     2.2  เครื่องเจาะ (DRILLING MACHINES) เป็นเครื่องมือกลที่มีหน้าที่ในการเจาะ ผายปากรู
               รีมเมอร์  โดยที่อาศัยแรงหมุนจากมอเตอร์ไฟฟ้า ส่งกำลังด้วยระบบสายพานหรือระบบเฟืองไปยังแกนเพลา ซึ่ง

                                                                                  ื่
               ประกอบอยู่กับหัวจับดอกสว่าน ใช้จับยึดดอกสว่านโดยดอกสว่านหมุนรอบแกนเพอให้คมตัดของดอกสว่านตัด
               เฉือนเนื้อวัสดุ  เครื่องเจาะมีหลายชนิดอาจแบ่งออกได้ดังนี้ เครื่องเจาะตั้งโต๊ะ เครื่องเจาะตั้งพื้น เครื่องแบบ
               รัศมี เครื่องเจาะในงานอุตสาหกรรม ในหน่วยนี้จะกล่าวถึงเพียง หน้าที่และส่วนประกอบของเครื่องเจาะตั้งโต๊ะ

                        หน้าที่และส่วนประกอบของเครื่องเจาะตั้งโต๊ะ




                          หัวเครื่อง


                                                                                     คันป้อนเจาะ

                          เพลาหมุน






                                                                            เสา
                            โต๊ะงาน

                                                                                   ฐานเครื่องเจาะ



                                           รูปที่ 2.24 แสดงส่วนประกอบของเครื่องเจาะตั้งโต๊ะ

                        2.2.1  ฐาน (Base) ผลิตด้วยเหล็กหล่อ เป็นส่วนที่อยู่ล่างสุด รองรับชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องเจาะ
               ทั้งหมดและเป็นตัวยึดติดกับโต๊ะหรือพื้น
                        2.2.2  เสา (Column) มีลักษณะเป็นแท่งทรงกระบอก ผิวเจียระไนเรียบมีความเที่ยงตรงสูง เป็นที่
               จับยึดโต๊ะและหัวเครื่อง

                        2.2.3  โต๊ะงาน (Table) เป็นส่วนรองรับปากกาจับยึดชิ้นงาน สามารถปรับเลื่อนขึ้นลงในแนวดิ่ง
                                        ี
               ตามเสาและยังสามารถปรับเอยงให้เป็นมุมเพื่อทาการเจาะรูงานในลักษณะพิเศษ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15