Page 7 - ใบความรู้หน่วยที่ 2
P. 7
รูปที่ 2.16 แสดงลักษณะของคีมล็อก
การใช้งานและการบำรุงรักษาคีม
ั
1. เลือกใช้คีมให้เหมาะสมกบขนาดและลักษณะงาน
2. ไม่ควรใช้ค้อนตีปากคีมเพอตัดเส้นลวดให้ขาด
ื่
3. อย่าใช้คีมขันนัทหรือสลักเกลียว เพราะเหลี่ยมอาจเยิน
4. หยอดน้ำมันที่จุดหมุนเมื่อคีมเริ่มฝืด
5. เมื่อใช้งานเสร็จต้องทำความสะอาด และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย .
4. ประแจ (Wrenches) เป็นเครื่องมือที่ใช้กันทั่วไป ใช้สำหรับขันและคลายนัท(Nut)หรือ
โบลท์(Bolt) ซึ่งมีหลายชนิดดังนี้
ั้
4.1 ประแจปากตาย (Open-end Wrenches) เป็นประแจที่ปากเปิดทงสองข้าง ปากประแจทั้ง
สองข้างมีขนาดที่ต่างกัน ซึ่งแนวปากประแจทามุมกับแนวด้ามประแจประมาณ 15 – 30 องศา ทำให้สามารถ
ใช้ขันหรือคลายสลักเกลียวได้ แต่มีขอจำกัด คือ ปากของประแจจับเหลี่ยมของสลักเกลียวเพียงสองด้านเมื่อขัน
้
สลักเกลียวหรือคลายสลักเกลียว อาจทาให้ปากของประแจหลุดจากเหลี่ยมของสลักเกลียว อาจทำให้เหลี่ยม
ของหัวนัท(Nut)หรือโบลท์(Bolt) เยินเสียหายได้
รูปที่ 2.17 แสดงลักษณะของประแจปากตาย
4.2 ประแจแหวน (Box wrenches) เป็นประแจที่มีปากคล้ายวงแหวน ภายในเป็นเหลี่ยม
โดยรอบ ซึ่งเหลี่ยมภายในประแจแหวนจะมี 6 เหลี่ยม แต่ทั่วไปจะมี 12 เหลี่ยม สามารถจับยึดเหลี่ยมของสลัก
เกลียว หรือแป้นเกลียวโดยรอบทุกด้านของเหลี่ยมสลักเกลียวได้อย่างมั่นคงแข็งแรง ทำให้เหลี่ยมของนัท
(Nut)หรือโบลท์(Bolt)ไม่เกดความเสียหาย
ิ
รูปที่ 2.18 แสดงลักษณะของประแจปากตาย
4.3 ประแจเลื่อน (Adjustable open wrenches) เป็นประแจที่มปากเลื่อนปรับขยายได้ ตาม
ี
ขนาดของหัวนัท(Nut)หรือโบลท์(Bolt) ไม่เป็นไปตามมาตรฐานทั้งสองระบบ เพราะออกแบบมาเพื่อใช้กับ
หัวนัทที่มีขนาดพิเศษ การใช้งานคล้ายกับประแจปากตาย ในการใช้งานสวมปากประแจเข้ากับหัวสลักเกลียว
แล้วจึงปรับปากประแจให้บีบกระชับพอดีกับหัวของนัท(Nut)หรือโบลท์(Bolt) โดยต้องปรับปากของประแจ