Page 16 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 16

๓

               มาตรฐานที่ ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ
               วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น


                         ตัวชี้วัด              สาระการเรียนรู้แกนกลาง          ขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด   หมายเหตุ
                 ๑. สืบค้นถึงการ         •วิถีชีวิตของคนในชุมชน เช่น การประกอบ  - อาชีพทำนาและการทำนาเกลือสินเธาว์ในจังหวัดร้อยเอ็ด
                 เปลี่ยนแปลง ในวิถีชีวิต   อาชีพ การแต่งกาย การสื่อสาร ประเพณีใน  - การแต่งกายของคนเผ่าต่าง ๆ ในจังหวัดร้อยเอ็ด และการสักลาย
                 ประจำวัน ของคนในชุมชน   ชุมชนจากอดีต ถึงปัจจุบัน            - ประเพณีบุญผะเหวด บุญข้าวจี่ บุญบั้งไฟ บุญคูนลาน
                 ของตนจากอดีตถึงปัจจุบัน   •สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของคน

                                         ใน ชุมชน




               มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและ ธำรงความเป็นไทย


                         ตัวชี้วัด              สาระการเรียนรู้แกนกลาง          ขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด   หมายเหตุ
                 ๑. ระบุบุคคลที่ทำประโยชน์ •บุคคลในท้องถิ่นที่ทำคุณประโยชน์ต่อการ   - ผู้นำการขุดบึงพลาญชัย
                 ต่อท้องถิ่นหรือ ประเทศชาติ   สร้างสรรค์วัฒนธรรม และความมั่นคงของ   - ผู้นำในการสร้างเจดีย์มหาไชยมงคล
                                         ท้องถิ่น และประเทศชาติ ในอดีตที่ควรนำ  - ท้าวแก้ว (ผู้ตั้งเมองสุวรรณภูมิ)

                                         เป็น แบบอย่าง                       - ท้าวทน (ผู้สร้างเมืองร้อยเอ็ด)
                                         •ผลงานของบุคคลในท้องถิ่นที่น่าภาคภูมิใจ   - ศิลปินช่างโหวด ช่างแคน ช่างกลองยาว
                                                                             - ช่างผ้าไหม
                 ๒. ยกตัวอย่างวัฒนธรรม   •ภูมิปัญญาของคนไทยในท้องถิ่นของ     - ศิลปินช่างโหวด ช่างแคน ช่างกลองยาว
                 ประเพณี และภูมิปัญญา    นักเรียน                            - ช่างผ้าไหม
                 ไทยที่ภาคภูมิใจและควร
                 อนุรักษ์ไว้
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21