Page 20 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 20
๕
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด หมายเหตุ
๓. แยกแยะประเภท ตัวอย่างหลักฐานที่ใช้ในการศึกษา ความ - ปรางค์กู่ต่าง ๆ , คูคลองรอบเมือง , โบสถ์ สิม เก่า เช่น โบสถ์บ้านประตูชัย
หลักฐานที่ใช้ในการศึกษา เป็นมาของท้องถิ่นของตน , สิมวัดไตรภูมิ เป็นต้น
ความเป็นมาของท้องถิ่น - ศิลาจารึกที่ถูกค้นพบในร้อยเอ็ด , ตำนานอุรังคธาตุ , บันทึกต่าง ๆ เช่น ...
การจำแนกหลักฐานของท้องถิ่นเป็น - หลักฐานชั้นต้น ได้แก่ หลักฐานที่ผู้บันทึกอยู่ในเหตุการณ์นั้น เช่น ศิลา
หลักฐานชั้นต้นและหลักฐานชั้นรอง จารึกที่ถูกค้นพบในร้อยเอ็ด
- หลักฐานแวดล้อม ได้แก่ ปรางค์กู่ต่าง ๆ , คูคลองรอบเมือง , โบสถ์ สิม เก่า
เช่น โบสถ์วัดกลางร้อยเอ็ด โบสถ์บ้านประตูชัย , สิมวัดไตรภูมิ เป็นต้น
- หลักฐานชั้นรอง ผู้บันทึกได้ยินมา เช่น ตำนานอุรังคธาตุ , ...
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ
วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด หมายเหตุ
๒. ยกตัวอย่างหลักฐานทาง หลักฐานการตั้งหลักแหล่งของมนุษย์ยุค - แหล่งโบราณคดีในร้อยเอ็ด เช่น แหล่งเครื่องปั้นดินเผาบ้านเมืองบัว กู่กา
ประวัติศาสตร์ที่พบ ใน ก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนไทยโดยสังเขป สิงห์ กู่พระโกนา กู่บ้านปรางค์กู่ (อ.ธวัชบุรี) กู่เมืองสรวง กู่บ่อพันขัน และกู่
ท้องถิ่นที่แสดงพัฒนาการ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่พบใน ในท้องถิ่นของนักเรียน หรือหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
ของมนุษยชาต ิ ท้องถิ่น ที่แสดงพัฒนาการของมนุษยชาติใน
ดินแดน ไทยโดยสังเขป
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเป็นไทย
- ไม่มีตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่สอดคล้องกับเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น –