Page 24 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 24
๗
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด หมายเหตุ
๒. รวบรวมข้อมูลจากแหล่ง การตั้งคำถามทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับ แบ่งช่วงเวลาเป็นก่อนประวัติศาสตร์และประวัติศาสตร์ ได้แก่
ต่าง ๆ เพื่อตอบ คำถามทาง ความเป็นมาของท้องถิ่น เช่น มีเหตุการณ์ ใด ๑. ก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งโบราณคดีในร้อยเอ็ด เช่น แหล่ง
ประวัติศาสตร์ อย่างมี เกิดขึ้นในช่วงเวลาใด เพราะสาเหตุใด และมี เครื่องปั้นดินเผาบ้านเมืองบัว กู่กาสิงห์ กู่พระโกนา กู่บ้านปรางค์กู่ (อ.ธวัช
เหตุผล ผลกระทบอย่างไร บุรี) กู่เมืองสรวง และกู่ในท้องถิ่นของนักเรียน หรือหลักฐานทาง
แหล่งข้อมูลและหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
ประวัติศาสตร์ ในท้องถิ่นเพื่อตอบคำถาม ๒. ประวัติศาสตร์ เช่น ศิลาจารึกพระเจ้าจิตเสน ผ้าผะเหวด ธรรมาสเทศน์
ดังกล่าว เช่น เอกสาร เรื่องเล่า ตำนาน โบสถ์ สิม เป็นต้น โดยแบ่งเป็นช่วงเวลาตามบันทึกของ... (เล่มสีน้ำตาล) ใน
ท้องถิ่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ ฯลฯ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติจังหวัดร้อยเอ็ด
การใช้ข้อมูลที่พบเพื่อตอบคำถามได้อย่าง
มี เหตุผล
๓. อธิบายความแตกต่าง ตัวอย่างเรื่องราวจากเอกสารต่างๆ ที่ - วิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ ข้อมูลข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ บทความเกี่ยวกับ หนังสือร้อยเอ็ด
ระหว่างความจริง กับ สามารถแสดงนัยของความคิดเห็นกับข้อมูล เมืองร้อยเอ็ด มี ๑๑ ประตูเมือง หรือมีร้อยเอ็ดประตู หรือเพียงชื่อมงคล ? ศึกษา (Roi Rt
ื่
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรองราว เช่น หนังสือพิมพ์ บทความจากเอกสาร ต่าง Studes) ของ
ในท้องถิ่น ๆ เป็นต้น มหาวิทยาลัยราช
ตัวอย่างข้อมูลจากหลักฐานทาง ภัฏร้อยเอ็ด
ประวัติศาสตร์ ในท้องถิ่นที่แสดงความจริง
กับข้อเท็จจริง
สรุปประเด็นสำคัญเกี่ยวกับข้อมูลใน
ท้องถิ่น
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพนธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ
ั
สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
- ไม่มีตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่สอดคล้องกับเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น –
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเป็นไทย
- ไม่มีตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่สอดคล้องกับเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น –