Page 27 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 27
๘
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด หมายเหตุ
๑. อธิบายความสำคัญของ ความหมายและความสำคัญของวิธีการ การศึกษาชื่อหมู่บ้าน ชุมชน ตำบล อำเภอหรือจังหวัด กรณีตัวอย่าง ประวัติ
วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ใน ทาง ประวัติศาสตร์อย่างง่าย ๆ ที่เหมาะสม บ้านเมืองคอง อ.อาจสามารถ
การศึกษาเรื่องราวทาง กับ นักเรียน การศึกษาชื่อหมู่บ้าน ชุมชน ตำบล อำเภอหรือจังหวัด กรณีตัวอย่าง ประวัติ
ประวัติศาสตร์อย่างง่าย ๆ การนำวิธีการทางประวัติศาสตร์ไปใช้ บ้านหนองตากล้า อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด จากหนังสือระลึกอดีต หรือ
ศึกษา เรื่องราวในท้องถิ่น เช่น ความเป็นมา อดีตรำลึก ของคุณแม่บุญมี คำบุศย์
ของ ภูมินามของสถานที่ในท้องถิ่น การศึกษาชื่อหมู่บ้าน ชุมชน ตำบล อำเภอหรือจังหวัด กรณีตัวอย่าง ประวัติ
บึงพระลานชัย
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพนธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ
ั
สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
- ไม่มีตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่สอดคล้องกับเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น –
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเป็นไทย
- ไม่มีตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่สอดคล้องกับเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น –
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ