Page 28 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 28
๙
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด หมายเหตุ
3. นำวิธีการทาง นำวิธีการทางประวัติศาสตร์ไปใช้ศึกษา - ประวัติศาสตร์ไทยที่มีอยู่ในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด โดยแบ่งตามภูมิศาสตร์
ประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษา เรื่องราวของประวัติศาสตร์ไทยที่มีอยู่ใน ดังนี้
เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ท้องถิ่นตนเองในสมัยใดก็ได้ (สมัยก่อน 1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ โดยใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในพื้นที่ทุ่ง
ประวัติศาสตร์ สมัยก่อนสุโขทัย สมัย กุลาร้องไห้ แหล่งเกลือบ่อพันขัน และแหล่งโบราณคดีบ้านเมืองบัว...
สุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี สมัย เปรียบเทียบกับเหตุการณ์สำคัญในสมัยสุโขทัย
รัตนโกสินทร์ ) และเหตุการณ์สำคัญในสมัย 2. สมัยประวัติศาสตร์
สุโขทัย 2.1 ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ตำนานอุรังคธาตุ เปรียบเทียบ
ประวัติศาสตร์ชาติไทยสมัยสุโขทัย
2.2 ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ พงศาวดารอีสานฉบับต่าง ๆ
เปรียบเทียบประวัติศาสตร์ชาติไทยสมัยอยุทธยา
2.3 ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ พงศาวดารอีสาน ประวัติอีสาน
เปรียบเทียบประวัติศาสตร์ชาติไทยสมัยรัตนโกสินทร์
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพนธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ
ั
สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
- ไม่มีตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่สอดคล้องกับเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น –
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเป็นไทย
- ไม่มีตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่สอดคล้องกับเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น –
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด หมายเหตุ