Page 31 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 31

๑๐

 ๑. ประเมินความน่าเชื่อถือ  วิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐาน  ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์โดยการวิพากษ์
 ของหลักฐานทาง  ทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่าง ๆ อย่าง  พงศาวดารร้อยเอ็ด ของพระยาขัติยะวงษา และพงศาวดารเมืองร้อยเอ็ด
 ประวัติศาสตร์ในลักษณะ  ง่าย ๆ เช่น การศึกษาภูมิหลังของผู้ทำ หรือ  ของหม่อม อมรวงศ์วิจิตร และประวัติศาสตร์อีสานของเติม วิพากษ์พจนกิจ

 ต่าง ๆ   ผู้เกี่ยวข้อง  สาเหตุ ช่วงระยะเวลา รูปลักษณ์ ตามภูมิหลังของผู้ทำ หรือผู้เกี่ยวข้อง สาเหตุในการทำ ช่วงระยะเวลา และ
 ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เป็นต้น   รูปลักษณ์ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
    ตัวอย่างการประเมินความน่าเชื่อถือของ
 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยที่อยู่
 ในท้องถิ่นของตนเอง หรือหลักฐาน
 สมัยอยุธยา



 มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพนธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ
    ั
 สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น

 - ไม่มีตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่สอดคล้องกับเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น –

 มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเป็นไทย


 - ไม่มีตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่สอดคล้องกับเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น –



 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓


 มาตรฐาน ส ๔.๑    เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ

 ตัวชี้วัด   สาระการเรียนรู้แกนกลาง   ขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด   หมายเหตุ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36