Page 35 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 35

๑๒

 ตัวชี้วัด   สาระการเรียนรู้แกนกลาง   ขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด   หมายเหตุ
 2. สร้างองค์ความรู้ใหม่ทาง     ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์   โครงงานประวัติศาสตร์ กรณีศึกษาดังนี้
 ประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการ  โดยนำเสนอตัวอย่างทีละขั้นตอนอย่างชัดเจน  - เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในร้อยเอ็ด : ทำไมเมืองท่งศรีภูมิที่ตั้ง

 ทางประวัติศาสตร์อย่างเป็น      คุณค่าและประโยชน์ของวิธีการทาง  ก่อน จึงไม่เจริญเท่าเมืองร้อยเอดที่ตั้งภายหลัง
                 ็
 ระบบ   ประวัติศาสตร์ที่มีต่อการศึกษาทาง  - เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในร้อยเอ็ด : ทำไมบึงพลาญชัยมีพระ
 ประวัติศาสตร์   บรมรูปรัชกาลที่ ๖
     ผลการศึกษาหรือโครงงานทาง  - เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในร้อยเอ็ด : พระเจ้าตากเกี่ยวข้องกับ
 ประวัติศาสตร์   เมืองร้อยเอ็ดอย่างไร
    - เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในชุมชน : การเกิดขึ้นและการ
 ขยายตัวของชุมชน
 - เหตุการณ์กบฏผีบุญในพื้นที่อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด



 มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพนธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ
    ั
 สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น

 - ไม่มีตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่สอดคล้องกับเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น –


 มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเป็นไทย

 - ไม่มีตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่สอดคล้องกับเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น –
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40