Page 23 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 23
๖
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด หมายเหตุ
๑. สืบค้นความเป็นมาของ วิธีการสืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่น - แหล่งข้อมูลประวัติความเป็นของจังหวัดร้อยเอ็ด
ท้องถิ่นโดยใช้หลักฐาน ที่
หลากหลาย หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีอยู่ใน แบ่งช่วงเวลาเป็นก่อนประวัติศาสตร์และประวัติศาสตร์ ได้แก่
ท้องถิ่น ที่เกิดขึ้นตามช่วงเวลาต่างๆ เช่น ๑. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งโบราณคดีในร้อยเอ็ด เช่น แหล่ง
เครื่องมือ เครื่องใช้ อาวุธ โบราณสถาน เครื่องปั้นดินเผาบ้านเมืองบัว กู่กาสิงห์ กู่พระโกนา กู่บ้านปรางค์กู่ (อ.ธวัช
โบราณวัตถุ บุรี) กู่เมืองสรวง กู่บ่อพันขัน และกู่ในท้องถิ่นของนักเรียน หรือหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
๒. สมัยประวัติศาสตร์ เช่น ศิลาจารึกพระเจ้าจิตเสน ผ้าผะเหวด ธรรมาส
เทศน์ โบสถ์ สิม เป็นต้น
การนำเสนอความเป็นมาของท้องถิ่นโดย - นำเสนอประวัติศาสตร์ของท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด หรืออำเภอ หรือตำบลที่
อ้างอิงหลักฐานที่หลากหลายด้วยวิธีการต่าง อาศัย โดยใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ชิ้นใดชิ้นหนึ่ง ตัวอย่างเช่น นำเสนอ
ๆ เช่น การเล่าเรื่องการเขียนอย่างง่าย ๆ ความเป็นมาของชื่อจังหวัดร้อยเอ็ด โดยใช้หลักฐานตำนานอุรังคธาตุ หรือ
การจัดนิทรรศการ นำเสนอการตั้งหลักแหล่งในพื้นที่เมืองร้อยเอ็ดของชุมชนโบราณ โดยใช้คู
คลองรอบเมือง เป็นต้น