Page 18 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 18
๔
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
มาตรฐานที่ ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
- ไม่มีตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด -
มาตรฐานที่ ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ
วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด หมายเหตุ
๒. สรุปลักษณะที่สำคัญของ ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม - บุญบั้งไฟ เน้นประเพณีที่
ขนบธรรมเนียม ประเพณี ชุมชนของตนที่เกิดจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์ - บุญข้าวจี่ ส่งผลต่อเป้าหมาย
และวัฒนธรรมของชุมชน และปัจจัยทางสังคม - บุญผะเหวด หลักสูตร
๓. เปรียบเทียบความ ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม - บุญข้าวสาก
เหมือนและความต่างทาง ของ ชุมชน อื่น ๆ ที่มีความเหมือนและความ - บุญคูนลาน
วัฒนธรรมของชุมชนตนเอง ต่าง กับชุมชนของตนเอง - บวชควายจ่า
กับชุมชนอื่น ๆ - การบายศรีสู่ขวัญ
และอื่น ๆ ในชุมชน โดยวิเคราะห์ให้เห็นความเชื่อมโยงของปัจจัยทางภูมิศาสตร์
และปัจจัยทางสังคม
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธำรงความเป็นไทย
- ไม่มีตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่สอดคล้องกับเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น –
หมายเหตุ ป.๑-๓ ใช้หนังสือวัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดร้อยเอ็ด ของกรมศิลปากร (ธันวาคม ๒๕๔๒)ร่วมกับหนังสือ
เมืองร้อยเอ็ด ของกรมศิลปากร (มีนาคม, ๒๕๔๑)
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ