Page 13 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 13
๑
การวิเคราะห์ขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด ที่เหมาะสมกับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระประวัติศาสตร์
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
มาตรฐานที่ ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
- ไม่มีตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับเนื้อหาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด -
มาตรฐานที่ ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ
วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด แหล่งเรียนร ู้
๑. บอกความเปลี่ยนแปลง ความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม สิ่งของ - สภาพการใช้ควายไถนาในจังหวัดร้อยเอ็ด - หนังสือวัฒนธรรม
ของสภาพแวดล้อม สิ่งของ เครื่องใช้ หรือการดำเนินชีวิตของอดีต กับ - สภาพการใช้เกวียน และทางลึกในจังหวัดร้อยเอ็ด พัฒนาการ ฯ (กรม
เครื่องใช้ หรือการดำเนิน ปัจจุบันที่เป็นรูปธรรมและใกล้ตัวเด็ก เช่น การ - สภาพการใช้น้ำในการอุปโภคบริโภคจากบ่อน้ำสารธารณะในพื้นที่ ศิลปากร)
ชีวิตของตนเอง กับสมัยของ ใช้ควาย ไถนา รถไถนา เตารีด ถนน เกวียน - รถ จังหวัดร้อยเอ็ด - ภาพถ่ายจาก
พ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย อีแต๋น - สภาพบ้านเมืองในจังหวัดร้อยเอ็ดในอดีต พิพิธภัณฑ์
สาเหตุและผลของการเปลี่ยนแปลงของสิ่ง
ต่างๆ ตามกาลเวลา
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและ ธำรงความเป็นไทย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ขอบข่ายเนื้อหาสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด หมายเหตุ
๒. บอกสถานที่สำคัญซึ่งเป็น ตัวอย่างของแหล่งวัฒนธรรมในชุมชน ที่ใกล้ - แหล่งวัฒนธรรมในอำเภอต่าง ๆ ในจังหวัดร้อยเอ็ด อย่างน้อยอำเภอละ - ภาพถ่ายวิถีชีวิต
แหล่งวัฒนธรรมใน ชุมชน ตัวนักเรียน เช่น วัด ตลาด พิพิธภัณฑ์ มัสยิด ๒ แห่ง - ปรางค์ก ู่
โบสถ์คริสต์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ แหล่ง - สิมเก่า
วัฒนธรรมในประเทศอาเซียน เช่น การ เฉลิม
ฉลองและพิธีกรรมนำพาผู้คนมารวมตัวกัน