Page 9 - หลักสูตรประวัติศาสตร์ฯ จ.ร้อยเอ็ด
P. 9

๔

                                                                                               ั
                       ๑.๒.๑ เพื่อจัดทำหน่วยการเรียนรู้ต้นแบบประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด “ค้นหาอตลักษณ์
               พัฒนานวัตกรรม นำสู่รายได้ ด้วย Design Thinking” ระดับชั้น ป.๑ - ม.๖
                       ๑.๒.๒ เพื่อทดลองใช้หน่วยการเรียนรู้ต้นแบบประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด“ค้นหาอัตลักษณ์
               พัฒนานวัตกรรม นำสู่รายได้ ด้วย Design Thinking” ระดับชั้น ป.๑ - ม.๖

                       ๑.๒.๓ เพื่อประเมินความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพของหน่วยการเรียนรู้ต้นแบบประวัติศาสตร์
               ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด“ค้นหาอัตลักษณ์ พัฒนานวัตกรรม นำสู่รายได้ ด้วย Design Thinking” ระดับชั้น ป.๑

               - ม.๖


               ๑.๓ ขอบเขตของการดำเนินงาน
                       ๑.๓.๑ ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มเป้าหมาย

                              ขับเคลื่อนการใช้หน่วยการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด ในระดับการศึกษาขั้น
               พื้นฐานของรัญและเอกชน ทั้งในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงมหาดไทย



                       ๑.๓.๒ ขอบเขตด้านเนื้อหา

                              กำหนดเนื้อหาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด ตามที่กำหนดในหลักสูตร
               แกนกลางการศกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระ
                            ึ
               ประวัติศาสตร์ ตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรู้แกนกลางเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ระดับช่วงชั้นละ ๑

               ตัวชี้วัด


               ๑.๔ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
                       ๑.๔.๑ ผู้เรียนมีผลผลิตในลักษณะของสินค้าหรือบริการที่เกิดจากการสืบสารและต่อยอดภูมิปัญญา

               หรือทรัพยากรทางธรรมชาติและทรัพยากรทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น
                       ๑.๔.๒ จากข้อ ๑.๔.๑ ส่งผลให้ผู้เรียนมีรายได้และมีแรงบันดาลใจในการเป็นผู้ประกอบการที่มีคาวม

               ใส่ใจต่องสังคมและสิ่งแวดล้อม
                       ๑.๔.๓ ครูได้รับการพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุกบนฐานสมรรถนะ
                       ๑.๔.๔ สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารจัดการการเรียนรู้เชิงรุกบนฐานสมรรถนะที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

                       ๑.๔.๕ หน่วยงานการศึกษาเป็นศูนย์กลางของการเผยแพร่และแบ่งปัน (Show and Share) แนว
                                   ึ
               ทางการบริหารจัดการศกษาเชิงรุกบนฐานสมรรถนะ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14