Page 47 - บทที่ 2
P. 47
ั
เล็งเห็นว่าโปรแกรมภาษาใน Text Mode นั้นคงถึงกาลที่หมดสมัย จึงได้พฒนาปรับปรุงโปรแกรม
ภาษา Basic ของตนออกมาใหม่เพื่อสนับสนุนการท างานในระบบ Windows ท าให้ Visual Basic ถือ
ก าเนิดขึ้นมาตั้งแต่บัดนั้น
Visual Basic เวอร์ชันแรกคือเวอร์ชัน 1.0 ออกสู่สายตาประชาชนตั้งแต่
ปี 1991 โดยในช่วงแรกนั้นยังไม่มีความสามารถต่างจากภาษา GBASIC มากนัก แต่จะเน้นเรื่อง
เครื่องมือที่ช่วยในการเขียนโปรแกรมวินโดว์ซึ่งปรากฏว่า Visual Basic ได้รับความนิยมและประ
ั
ความส าเร็จเป็นอย่างดีไมโครซอฟท์จึงพฒนา Visual Basic ให้ดีขึ้นเรื่อยๆ ทั้งในด้านประสิทธิภาพ
ความสามารถ และเครื่องมือต่างๆเช่น เครื่องมือตรวจสอบแก้ไขโปรแกร (debugger) สภาพแวดล้อม
ของการพัฒนาโปรแกรม การเขียนโปรแกรมแบบหลายวินโดว์ย่อย (MDI) และอื่นๆ อีกมากมาย
ส าหรับ Visual Basic ในปัจจุบันคือ Visual Basic 2008 ซึ่งออกมาในปี 2008 ได้
ิ
เพมความสามารถในการเขียนโปรแกรมติดต่อกับเครือข่ายอนเตอร์เน็ต การเชื่อมต่อกับระบบ
ิ่
ฐานข้อมูล รวมทั้งปรับปรุงเครื่องมือและการเขียนโปรแกรมซึ่งวัตถุ (Object Oriented
ี
Programming) ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นพร้อมทั้งเพิ่มเครื่องมือต่างๆอกมากมายที่ท าให้ใช้งายและสะดวกขึ้น
กว่าเดิม โดยเราจะค่อยๆมาเรียนรู้ส่วนประกอบและเครื่องมือต่างๆอกมากมายที่ท าให้ใช้ง่ายและ
ี
สะดวกขึ้นกว่าเดิม
2.2.2.2 บทบาทของ visual basic 2010
โปรแกรม Visual Basic (VB) เป็นโปรแกรมส าหรับพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ที่ก าลัง
เป็นที่ นิยมใช้อยู่ในปัจจุบัน โปรแกรม Visual Basic เป็นโปรแกรมที่ได้เปลี่ยนรูปแบบการเขียน
โปรแกรมใหม่ โดยมีชุดค าสั่งมาสนับสนุนการท างาน มีเครื่องมือต่าง ๆ ที่เรียกกันว่า คอนโทรล
ิ
(Controls) ไว้ส าหรับช่วยในการออกแบบโปรแกรม โดยเน้นการออกแบบหน้าจอแบบกราฟฟก หรือ
ที่เรียกว่า Graphic User Interface (GUI) ท าให้การจัดรูปแบบหน้าจอเป็นไปได้ง่าย และในการเขียน
โปรแกรมนั้นจะเขียนแบบ Event - Driven Programming คือ โปรแกรมจะท างานก็ต่อเมื่อ
เหตุการณ์ (Event) เกิดขึ้น ตัวอย่างของเหตุการณ์ได้แก่ ผู้ใช้เลื่อนเมาส์ ผู้ใช้กดปุ่มบนคีย์บอร์ด ผู้ใช้
กดปุ่มเมาส์ เป็นต้น
เครื่องมือ หรือ คอนโทรล ต่าง ๆ ที่ Visual Basic ได้เตรียมไว้ให้ ไม่ว่าจะเป็น
Form TextBox Label ฯลฯ ถือว่าเป็นวัตถุ (Object ในที่นี้ขอใช้ค าว่า ออบเจ็กต์) นั่นหมายความว่า
ไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือใด ๆ ใน Visual Basic จะเป็นออบเจ็กต์ทั้งสิ้น สามารถที่จะควบคุมการท างาน
แก้ไขคุณสมบัติของออบเจ็กต์นั้นได้โดยตรง ในทุกๆ ออบเจ็กต์จะมีคุณสมบัติ (properties) และเมธ
อด (Methods) ประจ าตัว ซึ่งในแต่ละออบเจ็กต์ อาจจะมีคุณสมบัติและเมธอดที่เหมือน หรือต่างกันก็
ได้ ขึ้นอยู่กับชนิดของออบเจ็ก
ในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้วย Visual Basic การเขียนโค้ดจะถูกแบ่งออกเป็น