Page 48 - บทที่ 2
P. 48

ิ
                                                                                                    ์
                       ส่วนๆ เรียกว่า โพรซีเดอร์ (procedure)  แต่ละโพรซีเดอร์จะประกอบไปด้วย ชุดค าสั่งที่พมพเข้าไป
                       แล้ว ท าให้คอนโทรลหรือออบเจ็กต์นั้น ๆ ตอบสนองการกระท าของผู้ใช้ ซึ่งเรียกว่าการเขียนโปรแกรม
                       เชิงวัตถุ (Object  Oriented  Programming-OOP)  แต่ตัวภาษา Visual  Basic  ยังไม่ถือว่าเป็นการ
                       เขียนโปรแกรมแบบ OOP อย่างแท้จริง เนื่องจากข้อจ ากัดหลายๆ อย่างที่ Visual Basic ไม่สามารถ

                       ท าได้


                              2.2.2.3 ความส าคัญของ visual basic 2010
                                     1. มีความง่ายให้เลือกเยอะมากมาย จึงเหมาะกับผู้ที่เริ่มศกษาภาษาคอมพิวเตอร์
                                                                                    ึ
                       ระดับเบื้องต้น สามารถศึกษาได้ด้วยตัวเอง

                                     2. ภาษา BASIC นั้นได้รับการยืนยันว่า เป็นภาษาที่เรียนรู้ได้ง่ายมากที่สุด จนกระทั่ง
                       ท าให้เกิดการใช้งานมากที่สุดทางด้านประวัติศาสตร์ของคอมพิวเตอร์

                                                                                     ั
                                     3. มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากการที่ Microsoft มีการพฒนาอย่างต่อเนื่อง จาก
                       การที่ Microsoft ได้ปรับปรุงประสิทธิภาพในเรื่องของความง่าย และความเร็ว ตลอดจนเพิ่มพูน
                       ความสามารถใหม่ๆ เช่น การเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จึงท าให้ภาษานี้น ามาประยุกต์ใช้ได้

                       อย่างรวดเร็ว
                                     4. ผู้พัฒนาหลัก คือ Microsoft ซึ่งเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ มีชื่อเสียงไปทั่วโลก ท าให้

                       ได้รับความไว้วางใจว่า ช่วงนี้จะมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง


                       2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
                              2.3.1.งานวิจัยของนายสุรชัย ศรีใส เรื่อง  การศึกษาแนวทางการพัฒนาห้องสมุด

                       อิเล็กทรอนิกส์ (e-library) ในมุมมองของผู้บริหารและบคลากรส านักวิทยบริการ มหาวิทยาลัย
                                                                       ุ
                       อุบลราชธานี


                                                                                  ั
                                                                ื่
                              บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพอศึกษาแนวทางการพฒนาห้องสมุดอเล็กทรอนิกส์
                                                                                               ิ
                       (e-library) ในมุมมองของผู้บริหารและบุคลากรส านักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอบลราชธานี ที่ได้จาก
                                                                                        ุ
                       กลุ่มตัวอย่าง จ านวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล คือ แบบสอบถามแบบประเมินค่า จ านวน 21
                       ข้อ มีค่า  ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ 1.0  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ
                       ค่าเฉลี่ย  การแจกแจงความถี่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้  ผู้บริหารและ

                                                                                              ั
                       บุคลากรส านักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอบลราชธานี มีความคิดเห็นแนว  ทางการพฒนาห้องสมุด
                                                          ุ
                       อเล็กทรอนิกส์ทั้ง 3 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.53 แปลผลระดับมากที่สุด โดยเรียงล าดับจากมากไป
                        ิ
                                                                                       ั
                       หาน้อย ตามแนวทางการพฒนาเป็นรายด้าน ดังต่อไปนี้  1.  แนวทางการพฒนาด้านนโยบายและ
                                             ั
                                                                             ิ
                       งบประมาณ ค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.78 แปลผลระดับ มากที่สุด เมื่อพจารณาเป็นรายข้อ พบว่า เห็นด้วย
                                                      ิ
                                         ั
                       มากที่สุด ได้แก่ การพฒนาห้องสมุดอเล็กทรอนิกส์  ต้องก าหนดเป็นนโยบายในแผนยุทธศาสตร์ของ
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53