Page 51 - บทที่ 2
P. 51
ได้แก่ ค่าร้อยโดยหาค่าเฉลี่ย ( Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) หา
ประสิทธิภาพแบบทดสอบ
ผลการศึกษาพบว่า
1. การศึกษากลุ่มตัวอย่างของนักศึกษาจ านวน 32 คนพบว่าเมื่อผู้เรียนได้เรียนโดยใช้แบบ
ฝึกทักษะการเขียนโปรแกรมแล้ว มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย 12.65 คะแนน จากคะแนนเต็ม 20
คะแนน พัฒนาการเรียนรู้เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย 5.34 คะแนน
2.3.4.งานวิจัยของนางสาวพิมล พรอมมูล เรื่อง การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรส าหรับ
การจัดการข้อมูลการควบคุมคุณภาพ
ั
ื่
ิ
การวิจัยครั้งนี้มีความมุงหมายเพอพฒนาโปรแกรมคอมพวเตอรส าหรับการจัดการขอมูลการ
ื่
ควบคุมคุณภาพ และเพอประเมินคุณภาพของโปรแกรมคอมพวเตอรส าหรับการจัดการขอมูลการ
ิ
ึ
ควบคุมคุณภาพ ท าการประเมินดวยกัน 4 ดาน ดานความสามารถในการพงพาของระบบ
(Dependability) ดานความนาเชื่อถือของระบบ (Reliability) ดานความสะดวกในการใชงานระบบ
ิ
(Usability) และดานความปลอดภัยของ ขอมูลในระบบ (Security) โปรแกรมคอมพวเตอรประเมิน
โดยเจาหนาที่ฝายควบคุมคุณภาพ จ านวน 40 คนสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลคือ คาเฉลี่ย,คา
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D), และ คาสถิติทดสอบสมมุติฐาน(Z-test)
ผลการวิจัยพบวา
ิ
ั
1. การพฒนาโปรแกรมคอมพวเตอรส าหรับการจัดการขอมูลการควบคุมคุณภาพโดยใช
โปรแกรม Microsoft Access ส าหรับการจัดการขอมูลดังนี้
1.1 ขอมูลการตรวจ และทดสอบวัตถุดิบ
1.2 ขอมูลการตรวจ และทดสอบผลิตภัณฑระหวางกระบวนการผลิต
1.3 ขอมูลการตรวจขั้นสุดทาย และผลิตภัณฑที่ผานการบรรจุ
1.4 ขอมูลการรองเรียนของลูกคา
1.5 ขอมูลการรองเรียนของผูรับจางผลิต
1.6 ขอมูลของแบบผลิตภัณฑ
1.7 ขอมูลการบันทึกการประชุม และ
1.8 ขอมูลการวิเคราะหขอมูล
ั
2. การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรส าหรับการจัดการขอมูลการควบคมคุณภาพที่พฒนาขึ้น
ผลการศึกษาพบวาคุณภาพทั้ง 4 ดานไดผลดังนี้
2.1 ดานความสามารถในการพงพาของระบบมีคาคุณภาพอยูในเกณฑดีมีคาเฉลี่ยเทากับ
ึ
3.85 (Z=-1.66)