Page 49 - บทที่ 2
P. 49
ส านักวิทยบริการ รองลงมา ผู้บริหารและบุคลากรทุกคน ควรมีส่วนร่วมในการก าหนดเป้าหมายเป็น
ื่
ั
ห้องสมุดอเล็กทรอนิกส์ และน้อยที่สุด มีการแต่งตั้งคณะ กรรมการ เพอติดตามการพฒนาห้องสมุด
ิ
อิเล็กทรอนิกส์ 2. แนวทางการพัฒนาด้านอุปกรณ์ เทคโนโลยี และทรัพยากรสารนิเทศดิจิทัล ค่าเฉลี่ย
ิ
โดยรวม 4.44 แปลผลระดับมาก เมื่อพจารณาเป็นรายข้อ พบว่า เห็นด้วยมากที่สุด ได้แก่ มีแผนการ
ุ
จัดหาอปกรณ์ ที่สอดคล้องกับนโยบายและแผนตามตัวชี้วัด รองลงมา มีการเชื่อมโยงกับระบบ
เครือข่าย อนๆ เพอความหลากหลายของทรัพยากรสารนิเทศดิจิทัล และน้อยที่สุด มีการผลิต
ื่
ื่
ทรัพยากรสารนิเทศ ขึ้นใช้เอง เพอลดปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ 3. แนวทางการพฒนาด้านบุคลากร
ั
ื่
ิ
และผู้รับผิดชอบในการด าเนินงาน ค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.35 แปลผลระดับมาก เมื่อพจารณาเป็นรายข้อ
ั
ื่
พบว่า เห็นด้วยมากที่สุด ได้แก่ ผู้บริหารให้ความส าคัญกับ การวางแผนพฒนาบุคลากร เพอรองรับ
การเป็นห้องสมุดอเล็กทรอนิกส์รองลงมา มีแผนพฒนาบุคลากร ที่เกี่ยวข้องกับการพฒนาห้องสมุด
ิ
ั
ั
ิ
อเล็กทรอนิกส์ และน้อยที่สุด มีการแต่งตั้งที่ปรึกษาที่มีความรู้ด้าน ห้องสมุดอเล็กทรอนิกส์ ส่วน
ิ
ข้อเสนอแนะ เห็นควรก าหนดเป็นนโยบายให้ชัดเจน และจัดสรรงบประมาณสนับสนุนที่ เพยงพอ
ี
รวมถึงแนวทางการพฒนาด้านบุคลากรยังไม่ชัดเจน ที่ส าคัญบุคลากรยังขาดความรู้ด้าน เทคโนโลยี
ั
ิ
อีกทั้งระบบเครือข่ายและอุปกรณ์ยังไม่สามารถรองรับการพัฒนาห้องสมุดอเล็กทรอนิกส์ และขาดการ
ติดตามประเมินผลการท างานของบุคลากรและคณะท างานอย่างเป็นรูปธรรม
ิ
ุ
ื
2.3.2.งานวจัยของนายกิตติมศักดิ์ ในจิต เรื่อง การพัฒนาระบบห้องสมดเสมอนออนไลน์
เพื่อการสืบค้นสื่อประสมและหนังสืออิเล็กทรอนิกส
ห้องสมุดเป็นแหล่งส าคัญของชาติในการถ่ายทอดความรู้ตามประกาศองค์การศึกษา
วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งชาต (UNESCO) ใน "กฎบัตรว่าด้วยหนังสือ” ปี ค.ศ. 1972 จนถึง
ปัจจุบันประเทศต่างๆ ยังยึดมั่นในหลักการดังกล่าวห้องสมุดจึงได้รับการพฒนาอย่างต่อเนื่อง [1] เมื่อ
ั
เข้าสู่ยุคเทคโนโลยสารสนเทศประกอบกับสภาพสังคมที่ให้ความส าคัญกับฐานความรู้ห้องสมุดจึงมี
ขอบข่ายให้บริการกว้างขวางมากขึ้น และถูกเรียกชื่อที่แตกต่างกัน เช่น ศูนย์ข้อมูลการศึกษา
(Educational Material Center) ศนย์เอกสาร (Document Center) และศูนย์วิทยบริการ
(Academic Center) ห้องสมุดเป็นสถาบันที่ท าหน้าที่จัดเก็บรวบรวมสารสนเทศ และอารยธรรมของ
มนุษยศาสตร์ในทุกยุค ระบบและวิธีการจัดเก็บหนังสือและสารสนเทศในยุคเดิมที่จัดจ าแนกประเภท
ด้วยมือนั้นไม่สามารถตอบสนองในการใช้สารสนเทศของผู้บริการในโลกยุคข้อมูลข่าวสารได้ครบถ้วน
จึงจ าเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบ และวิธีการจัดเก็บเพอตอบสนองความตองการของผู้ใช้
ื่
ิ
บริการ ิโดยการน าเทคโนโลยี สารสนเทศ ได้แก่ เทคโนโลยีคอมพวเตอร์ใช้จัดเก็บค้นหาสารสนเทศ
และเทคโนโลยีโทรคมนาคมที่ใช้เชื่อมโยงผู้ใช้กับฐานข้อมูลสารสนเทศ ในระบบเครือข่ายที่เชื่อมโยงถึง
กันในห้องสมุดทั้งภายในและระหว่างสถาบันอกทั้งผู้วิจัยมีประสบการณ์รับผิดชอบการจัดกิจกรรม
ี
เกี่ยวองค์ความรู้สื่อประสมและระบบสารสนเทศการเรียนการสอนเป็นเวลานาน ดังนั้นจึงเกิด