Page 60 - เล่มโปรเจค
P. 60
47
L คือ ความยาวของขดลวดตัวนำมีหน่วยเป็นเมตร
Ä คือ พื้นที่หน้าตัดของลวดตัวนำมีหน่วยเป็นตารางเมตร
เมื่อพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะของลวดตัวนำเมื่อได้รับแรงกระทำ จะพบว่า
มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นสองประการคือ ความยาวของลวดตัวนำเปลี่ยนไปจากเดิม และความ
ต้านทานของลวดตัวนำเปลี่ยนไปจากเดิม เพราะฉะนั้นถ้านำสเตรนเกจทั้งสองชนิดนี้ไปทำการเทียบ
สัดส่วนกันก็จะได้ค่าตัวประกอบชนิดหนึ่งที่มีชื่อเรียกว่า ค่าตัวประกอบเกจ หรือ Gage factor ซึ่ง
เขียนเป็นสมการได้ดังนี้
K = R / R (2.4)
L/ L
เมื่อ คือ ค่าตัวประกอบเกจ
R คือ ค่าความต้านทานที่เปลี่ยนแปลงไปของลวดตัวนำหลังจากถูกแรงกระทำ
R คือ ค่าความต้านทานของลวดตัวนำเริ่มแรกก่อนถูกแรงกระทำ
L คือ ค่าความยาวมี่เปลี่ยนแปลงไปของลวดตัวนำก่อนถูกกระทำ
L คือ ค่าความยาวของลดตัวนำก่อนถูกแรงกระทำ
และเนื่องจาก L/ ได้รับการกำหนดชื่อทางกลศาสตร์ว่าค่าคงตัวความเครียด แทน
L
F
ด้วยตัวแปร จึงสามารถเขียนสมการได้เป็น K ความเค้น ( ) S = สมมุติว่าแรงทางกลศาสตร์
=
A
ที่กระทำต่อวัสดุโครงสร้างดังกล่าวมีค่าเท่ากับ F ซึ่งมีหน่วยเป็นกิโลกรัมต่อตารางเมตร และ
พื้นที่หน้าตัดของวัสดุดังกล่าวมีค่าเท่ากับ A ตารางเมตร
พื้นที่หน้าตัด (A
)
แรงดึง (F
)
รูปที่ 2.49 การคำนวณหาความเค้น [7]
จะสามารถคำนวณหาค่าความเค้นที่กระทำต่อวัสดุนั้นได้จากสมการ