Page 59 - เล่มโปรเจค
P. 59

46



                                                                      
                       จะได้ว่า                    V out  =    R 1   −     R 3  
                                                 
                                                         
                                                                      
                                                         
                                                 
                                                                  R
                                           V in   R 1  + R 2      R 3  + 4 
                                                  R    R
                                                =   −
                                                 2 R  2 R
                                                 0=

                       หมายความว่า ไม่มีสัญญาณไฟฟ้า V  ออกไป เมื่อไม่มีแรงมากระทำขนาดหนึ่ง จะเกิดการ
                                                        out
                                                        −
                                        
                       เปลี่ยนแปลงเท่ากับ  R นั่นคือ  R =  R  R,  R =  R  R ,  R =  R  R,  R =  R  R
                                                                                                 −
                                                                      +
                                                                                    −
                                                                                            4
                                                                              3
                                                   1
                                                                2
                                                                                       
                                                  O/ P =     R + R  −   R − R      
                                                    R − R  + R + R  R + R  + R − R 
                                                  R
                                               =
                                                     +  R  −  R − R 
                                                                   
                                                   2 R       2 R  
                                                 2  R   R       l 
                                                   =  =     =  K    F                           (2.2)
                                                  2 R    R       l


                              2.12.1 สเตรนเกจ
                                 สเตรนเกจ (strain Gage) เป็นตัวแปลงแบบเฉื่อยงาน (Passive Transducer) ซึ่งทำ
                       หน้าที่แปลงแรงดึง ภาษาทางกลศาสตร์เรียกว่า ความเครียด (Strain)  การทำบนตัวอุปกรณ์ให้เป็น
                       การแปลงค่าความต้านทานทางไฟฟ้า สเตรนเกจ จึงมีการนำมาประยุกต์ใช้งานอย่างกว้างขวาง เช่น
                       การวัดน้ำหนัก ความดัน และการเคลื่อนที่

                                 สเตรนเกจสามารถแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ แบบยึดติด (Bonded Strain Gage) และ

                       แบบไม่ยึดติด (Unbounded Strain Gage)  โดยสเตรนเกจทั้งสองชนิดจะมีลักษณะโครงสร้างและ
                       การทำงานที่คล้ายกันคือทำด้วยเส้นลวดเล็ก ๆ ขดไปมาและนำไปติดกับวัตถุที่ต้องการตรวจวัด

                       ความเครียดเมื่อสเตรนเกจถูกยึดออกความยาวของเส้นลวดจะเพิ่มขึ้นในขณะที่พื้นที่หน้าตัดจะลดลง
                       ทำให้ความต้านทานของเส้นลวดเพิ่มขึ้นเนื่องจากความต้านทานโลหะตัวแปรโดยตรงตามความยาว

                       และแปรผันกับพื้นที่หน้าตัด โดยเขียนความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ได้ดังนี้


                                                                L
                                                           R =                                            (2.3)
                                                                A


                       เมื่อ            R  คือ ความต้านทานของขดลวดตัวนำมีหน่วยโอห์ม

                                   คือ ค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานของขดลวดตัวนำที่ใช้ทำสเตรนเกจมีหน่วยเป็น
                                           โอห์ม/เมตร
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64