Page 25 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 25

การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศด้านความพร้อมของอุตสาหกรรมและการเข้าถึงยา   11



               ควร Regional bridge หรือสะพานเชื่อมโยงระหว่างภูมิภาค เพื่อให้เกิดอ านาจต่องรองและใช้ประโยชน์จากอาเซียน

               ให้ได้มากที่สุด” นายแพทย์สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี กว่าวไว้ว่า “กระทรวงสาธารณสุขจะต้องเป็น Wellness center of
               Asia และรัฐต้องเป็น Facilitator ทั้งการ Empower บุคลากร ปรับการบริหารให้ Agile และ Resilience มากขึ้น

               อีกทั้ง Self-care ถือเป็นโอกาสทางธุรกิจของวงการแพทย์ เช่น Telemedicine หรือในเรื่องของเทคโนโลยีอื่น ๆ

               Genetic อาหารและสุขภาพ หรืออาหารเป็นยา ดังนั้นต้องมีการร่วมมือกันทั้งภาครัฐและเอกชน” และ
               ดร. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ กล่าวไว้ว่า “Scenario analysis ส าคัญมาก ต้องท าในรูปแบบต่าง ๆ ให้ครอบคลุมและ

               ละเอียดที่สุด เพื่อการตัดสินใจที่เหมาะสมรอบด้าน เช่น จะเกิดอะไรขึ้นหากมีสงครามวัคซีน การคงสภาพ social

               distancing 1 - 2 ปีเราจะอยู่อย่างไร ประเทศจะเป็นอย่างไรถ้าคนยังมีรายได้น้อย ประเทศจะติดหนี้สาธารณสุขสูง
               มาก เป็นต้น โลกใหม่ที่เต็มไปด้วยโรคระบาด ขณะที่ประเทศมีข้อจ ากัดในการผลิตวัคซีน ขาดการถ่ายทอด

               เทคโนโลยีหรือโรงงานผลิตไม่ได้ ดังนั้นต้องวางแผนกลยุทธ์ให้พร้อม ต้องมีการวางทางเลือกไว้ให้กับตัวเองเสมอ”

                       ส านักงานอาหารและยา อย. ได้ถอดบทเรียนเพื่อสร้างความมั่นคงด้านยาในภาวะฉุกเฉิน (สถานการณ์
                                                       ื่
               COVID) ดังนี้ 1) การจัดท าข้อมูลประมาณการเพอส ารองยารักษาโควิคระดับประเทศ 2) อ านวยความสะดวกในการ
               พิจารณาแบบเร่งด่วน เช่น การเร่งรัดการขึ้นทะเบียน เพิ่มแหล่งวัตถุดิบใหม่ และเพิ่มก าลังการผลิต 3) ยกเว้นภาษี

               เสนอรายการยาเพื่อยกเว้นภาษีเพื่อให้ผู้ป่วยเข้าถึงยา 4) ประสานองค์การเภสัชกรรม (GPO) แจ้งการงดจ าหน่าย
               ก่อน 3 เดือนเพื่อให้ผู้ผลิตรายอื่นเร่งผลิตทดแทน 5) ทบทวนราคาเพื่อให้โรงพยาบาลสามารถซื้อยาได้ และ 6)

                                                                                       12
               ส ารวจปริมาณ ความต้องการ การผลิตและน าเข้าเพื่อบริหารจัดการยาให้มีประสิทธิภาพ
                       ดังนั้นจากสถานการณ์ COVID จนกระทั้งเกิด New normal ในประเทศไทย การพัฒนาอุตสาหกรรมการ
               ผลิตยา เพื่อการส่งเสริมอุตสาหกรรมการผลิตยาและการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อให้สอดคล้องกับโอกาสทางธุรกิจ

               ของวงการแพทย์ Wellness center of Asia และควรเป็น Regional bridge หรือสะพานเชื่อมโยงระหว่างภูมิภาค

               เพื่อให้เกิดอ านาจต่องรองและใช้ประโยชน์จากอาเซียนให้ได้มากที่สุด


               1. สถานการณ์อุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศไทย



                       แนวโน้มการผลิตและน าเข้ายา ประเทศไทยในช่วงสองทศวรรษ พ.ศ. 2538 - 2562

                       เมื่อพิจารณาข้อมูลการผลิตและน าเข้ายา ตามแผนภาพที่ 1 พบว่า แนวโน้มมูลค่าการผลิตและน าเข้ายา

               ของประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 – 2558 สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งอาจจะเป็นผลจากราคายาที่เพิ่มสูงขึ้นและ/หรือ

               ปริมาณการบริโภคที่เพิ่มสูงขึ้น เช่น การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเป็นสังคมผู้สูงอายุ  ระบาดวิทยาของการ

               เกิดโรค การปรับเปลี่ยนแนวทางการจัดการโรค การเข้าถึงยาเพิ่มขึ้นจากระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตั้งแต่ปี

               พ.ศ. 2545





               12  สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา อย., โครงการสร้างความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์ในภาวะฉุกเฉิน (Covid-19)
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30