Page 10 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 10

ทุนสนับสนุนงานวิจัยจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)                                                                       | ฌ




                       ถ่ายทอดเทคโนโลยีจาก Mylan จากการวิเคราะห์องค์การเภสัชกรรมจึงปรับเปลี่ยนรูปแบบการ
                       บริหารโครงการใหม่เพื่อให้บรรลุตามเกณฑ์มาตรฐานของ WHO PQ


                       2.  การตัดสินใจรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากบริษัท Mylan เงื่อนไขและเทคโนโลยีที่ได้รับการ

                       ถ่ายทอด


                              แม้ว่าองค์การเภสัชกรรมจะมีการปรับเปลี่ยนทั้งในส่วนโครงสร้างคือการสร้างโรงงานผลิตยา

                       แห่งใหม่ การเตรียมความพร้อมด้านเอกสาร และกระบวนผลิต รวมถึงการว่าจ้างที่ปรึกษาโครงการ
                                                               ์
                       จากประเทศออสเตรเลีย การขอรับรองผลิตภัณฑจาก WHO PQ ก็ยังไม่ประสบความส าเร็จ ดังนั้นใน
                       ปี พ.ศ. 2558 องค์การเภสัชกรรมจึงตัดสินใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากบริษัท Mylan

                       Laboratories Ltd. ซึ่งเป็นบริษัทคู่ค้าเดิมขององค์การเภสัชกรรม โดยเงื่อนไขการถ่ายทอดเทคโนโลยี
                       คือการที่องค์การเภสัชกรรมต้องซื้อวัตถุดิบจาก Mylan แบบเฉพาะเจาะจงระยะเวลา 3 ปี โดยราคา

                       วัตถุดิบต้องไม่แตกต่างจากตลาดโลกเกินร้อยละ 5 และเทคโนโลยีที่ได้รับการถ่ายทอดจากบริษัท

                                                                        ั
                       Mylan  คือ 1) การส่งมอบเอกสารการที่เกี่ยวข้องในการพฒนามาตรฐานการผลิตยาและสูตรต ารับ
                       2) การส่งผู้เชี่ยวชาญมาให้ค าแนะน าต่อกระบวนการผลิตยา การประกันคุณภาพยา และการเตรียม

                       เอกสารทะเบียนต ารับตามข้อก าหนดของ WHO PQ  และ 3) การสนับสนุนให้บุคลากรขององค์การ

                       เภสัชกรรมในส่วนกระบวนการผลิตและงานเอกสารทะเบียน ได้ไปฝึกปฏิบัติการจริงที่บริษัท Mylan

                       ประเทศอนเดีย ในขณะที่องค์การเภสัชกรรมก็ได้ปรับเปลี่ยนทั้งโครงสร้างการบริหารที่ให้อานาจ
                               ิ
                       เบ็ดเสร็จในการตัดสินใจ รวมถึงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร จนท าให้รายการยา Efavirenz 600 mg

                       tablet ขององค์การเภสัชกรรมได้รับการรับรองให้อยู่ใน WHO PQ list ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561


                                                                        ี
                       3.  ปัจจัยส าเร็จและปัจจัยเอื้อของการถ่ายทอดเทคโนโลย

                            ปัจจัยส าเร็จของการถ่ายทอดเทคโนโลยีในครั้งนี้คือความสัมพนธ์ที่ดีระหว่างผู้ถ่ายทอดและ
                                                                                 ั
                       ผู้รับการถ่ายทอด ท าให้เกิดการท างานร่วมกันอย่างมุ่งมั่นระหว่างองค์การเภสัชกรรมและบริษัท
                                                                      ั
                       Mylan ทั้งในด้านการผลิต และการควบคุมคุณภาพ อนน าไปสู่การได้รับการรับรองมาตรฐาน
                       WHO PQ
                            นอกจากนี้พบว่าปัจจัยเออที่ส าคัญคือปัจจัยภายในประเทศ ได้แก่ 1) นโยบายหลักประกัน
                                                  ื้
                       สุขภาพถ้วนหน้าที่สนับสนุนการแก้ปัญหาเอดส์ด้วยการผลิตยาต้านไวรัสเอดส์ภายในประเทศ
                                                                                            ั
                       2) ศักยภาพขององค์การเภสัชกรรม และ 3) ปัจจัยเออเชิงนโยบายคือ การมีแผนพฒนาศักยภาพที่
                                                                   ื้
                       ยั่งยืนในประเทศไทย เรื่อง WHO Pre-qualification Scheme ในปี พ.ศ. 2554 และมีปัจจัยเออใน
                                                                                                      ื้
                       บริบทระหว่างประเทศโดยเฉพาะการที่คณะกรรมการบริหารกองทุนโลก (Global Fund) เห็นชอบให้

                       องค์การอนามัยโลกสนับสนุนในรูปแบบ Technical Assistance เพื่อให้ประเทศก าลังพัฒนาที่มีก าลัง
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15