Page 8 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 8

ทุนสนับสนุนงานวิจัยจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)                          | ช
















                                                         บทสรุปผู้บริหาร
                            การศึกษาวิจัยเรื่อง Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชนในการถ่ายทอด

                       เทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ มีจุดมุ่งหมายเพอสรุปบทเรียนประสบการณ์การรับการ
                                                                       ื่
                                            ุ
                       ถ่ายทอดเทคโนโลยีของอตสาหกรรมยาในประเทศไทยที่ประสบผลส าเร็จ โดยใช้กรณีศึกษาการรับ
                       การถ่ายทอดเทคโนโลยีขององค์การเภสัชกรรม (อภ.) ในยาต้านไวรัสเอดส์ Efavirenz Tablets 600

                                                                       ิ
                       mg จากบริษัท Mylan Laboratories limited ประเทศอนเดีย จนได้รับการรับรองให้อยู่ในบัญชี
                       รายการยา ของ WHO Prequalification Programme จากองค์การอนามัยโลกในเดือนสิงหาคม
                       พ.ศ. 2561  ซึ่งนับเป็นความส าเร็จอีกก้าวหนึ่งที่ส าคัญของอุตสาหกรรมยาแผนปัจจุบันภายในประเทศ

                       รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารที่มีการเผยแพร่

                       อย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ร่วมกับการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลส าคัญที่เกี่ยวข้องในการ
                       ด าเนินงานจ านวน 32 คน ประกอบด้วย นักการเมือง ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข คณะกรรมการ

                       ผู้บริหารและเจ้าหน้าปฏิบัติการขององค์การเภสัชกรรม ผู้เชี่ยวชาญจากบริษัท Mylan  จากนั้นน า

                                                                                            ุ
                       ข้อมูลมาสังเคราะห์เป็นบทเรียนการรับถ่ายทอดเทคโนโลยี ปัจจัยส าเร็จและปัญหาอปสรรคในรับการ
                       ถ่ายทอด ด าเนินการวิจัยระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2562 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2563

                              บทเรียนของการที่องค์การเภสัชกรรมรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากบริษัท Mylan ซึ่งเป็น

                       บริษัทยาชื่อสามัญชั้นน าของอนเดีย จนสามารถผลิตและควบคุมคุณภาพยาต้านไวรัส Efavirenz
                                                ิ
                       Tablets 600 mg และได้รับการรับรองจากองค์การอนามัยโลก มีข้อสรุปที่ส าคัญดังนี้



                       1. โครงการ WHO prequalification และความส าคัญของการยื่นขอการรับรองผลิตภัณฑ์ของ

                       องค์การเภสัชกรรม


                              การรับรองมาตรฐานด้านยาขององค์การอนามัยโลก หรือ WHO Prequalification

                       Programme (WHO PQ) เป็นโครงการร่วมมือในระดับนานาชาติเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001)
                                                ื่
                       โดยมีเป้าหมายในระยะแรกเพอตอบสนองต่อวิกฤติการณ์การแพร่ระบาดของการติดเชื้อเอชไอวี/
                                                            ั
                       เอดส์ในประเทศก าลังพฒนาและประเทศที่พฒนาน้อยที่สุด ซึ่งต่อมาได้ขยายขอบเขตโครงการไปยัง
                                          ั
                       เวชภัณฑ์ที่ใช้ในการรักษาวัณโรค และโรคมาลาเรีย ทั้งนี้ WHO PQ เป็นการรับรองมาตรฐานยาใน
                                      ื่
                       กลุ่มโรคดังกล่าวเพอให้องค์การระหว่างประเทศ เช่น Global Fund, United Nation (UN) ฯลฯ ใช้
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13