Page 9 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 9

Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ   | ซ





                                                                  ื่
                       เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการจัดซื้อยาเพอสนับสนุนประเทศที่มีรายได้น้อย นอกจากนี้
                                                                                                 ั
                       เป้าประสงค์ที่ส าคัญของ WHO PQ ยังประกอบด้วยการสนับสนุนให้เกิดการวิจัยและพฒนายาที่
                       ตอบสนองต่อความต้องการของประเทศที่มีรายได้น้อยรวมถึงยาสูตรเด็กส าหรับการติดเชื้อเอชไอวี/

                                                             ื่
                                                                                               ื่
                       เอดส์ และการประกันคุณภาพยาชื่อสามัญเพอกระตุ้นให้เกิดการแข่งขันด้านราคาเพอให้สามารถ
                       จัดหายาได้มากขึ้นด้วยกองทุนที่มีอยู่

                              ในบริบทของประเทศไทยที่ก าหนดให้ชุดสิทธิประโยชน์ด้านยาในระบบหลักประกันสุขภาพ

                       แห่งชาติครอบคลุมยาต้านไวรัสเอดส์นั้นก่อให้เกิดภาระด้านงบประมาณสาธารณสุขค่อนข้างมาก

                       ภายใต้ข้อจ ากัดด้านงบประมาณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขจึงได้มอบหมายให้องค์การเภสัช
                       กรรมขอรับรอง WHO PQ ในยาต้านไวรัสเอดส์ที่องค์การเภสัชกรรมมีผลิตภัณฑ์ในท้องตลาดแล้ว โดย

                                                                                           ื่
                       มุ่งหวังให้สามารถใช้งบประมาณของกองทุนโลกหรือองค์การระหว่างประเทศอนในการจัดซื้อยา
                       ดังกล่าวจากองค์การเภสัชกรรม ซึ่งจะช่วยประหยัดงบประมาณการจัดซื้อยาของภาครัฐ องค์การ
                       เภสัชกรรมจึงเริ่มด าเนินการเพอขอรับรอง WHO PQ ในปี พ.ศ. 2545 อย่างไรก็ตามพบว่าใน
                                                  ื่
                       ระยะแรกของการตรวจประเมินโดย WHO PQ Inspector team นั้น ในประเด็นด้านอาคารสถานที่

                       พบว่าอาคารผลิตยาต้านไวรัสเอดส์ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของ WHO GMP requirement การไม่มี
                       หน่วยงานด้านการประกันคุณภาพ ปัญหาความไม่สมบูรณ์ของเอกสารทะเบียนต ารับ เป็นต้น ทั้งนี้

                                     ุ
                       เมื่อวิเคราะห์ถึงอปสรรคขององค์การเภสัชกรรมในการขอรับรอง WHO PQ ในระยะแรกพบว่าเกิด
                       จากปัจจัยภายในขององค์กรเป็นหลัก ประกอบด้วย


                              1) ความไม่พร้อมด้านสถานที่ กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การออกแบบและก่อสร้างโรงงาน
                       แห่งใหม่ การเลือกใช้เทคโนโลยี และความพร้อมของบุคลากร



                              2) การบริหารจัดการโครงการภายในองค์การเภสัชกรรม เป็นแบบ Silo มีลักษณะแยกกัน
                       ต่างคนต่างท า ไม่มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน



                              3) ระบบการบริหารขององค์การเภสัชกรรมในรูปแบบคณะกรรมการองค์การเภสัชกรรม
                       สัดส่วนของบุคลากรที่มีความสามารถของคณะกรรมการองค์การเภสัชกรรม ในแต่ละสมัย ก่อให้เกิด

                       ปัญหาความล่าช้าในการตัดสินใจและความไม่ต่อเนื่องในการสนับสนุนโครงการ


                              ส่งผลให้องค์การเภสัชกรรมต้องบริหารจัดการ ประเมินความแตกต่าง (gap) ระหว่างสิ่งที่

                                                                                              ั
                       องค์การเภสัชกรรมมี กับเกณฑ์ความต้องการของ WHO PQ และด าเนินการเพมการพฒนาศักยภาพ
                                                                                        ิ่
                       (capacity building) ทั้งเรื่องอาคารสถานที่ บุคลากร เอกสารทะเบียนต ารับยา และแผนการ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14