Page 18 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 18

บทที่ 1
                                                             บทน ำ





                       1.1    หลักกำรและเหตุผล

                              ในปี พ.ศ. 2544 รมว.สาธารณสุข (คุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพนธุ์) หารือร่วมกันระหว่าง
                                                                                   ั
                       กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรคติดต่อ องค์การเภสัชกรรม (อภ.) ตัวแทนเครือข่ายผู้ติดเชื้อเอดส์

                                  ็
                       และตัวแทนเอนจีโอ เห็นชอบในหลักการที่จะให้การรักษาโรคเอดส์ด้วยยาต้านไวรัสเป็นส่วนหนึ่งของ
                       ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า  และมอบนโยบายให้ อภ.มีผลิตภัณฑ์ยาต้านไวรัสเอดส์ที่ได้รับ
                                                    1
                       WHO Prequalification (WHO PQ) ซึ่งในปี พ.ศ. 2545 อภ.ได้รับการตรวจประเมินจาก

                       WHO-GENEVA ในรูปแบบ Technical Assistant  เป็นครั้งแรก ณ อาคารผลิตยาต้านไวรัสเอดส์

                       องค์การเภสัชกรรม พระรามหก ในเดือนสิงหาคม  ผลการตรวจประเมินครั้งนั้นไม่ผ่านเกณฑ์
                                                                                     2
                       มาตรฐานของ WHO GMP Requirement โดยเฉพาะประเด็นอาคารสถานที่
                              ต่อมาในปี พ.ศ. 2548 หลังจากที่อภ.ได้ด าเนินการปรับปรุงอาคารผลิตยาต้านไวรัสเอดส์ ที่

                       พระรามหกตามข้อแนะน าของ WHO แล้ว และ อภ.ได้ยื่นเอกสารทะเบียนต ารับ GPO-VIR S30
                       Tablets ไปยัง WHO-GENEVA เพอเข้าร่วมโปรแกรม WHO PQ ผลการตรวจประเมินที่ได้รับพบว่า
                                                   ื่
                       "เอกสารทะเบียนต ารับไม่ผ่านการประเมิน" เนื่องจากขาดความสมบูรณ์ของเนื้อหาโดยเฉพาะข้อมูล

                       Pharmaceutical Development และ WHO Inspection Report ระหว่างวันที่ 25-28 ตุลาคม
                       พ.ศ. 2548 สรุปว่า ยังคงไม่ผ่านเกณฑ์ยอมรับของ WHO GMP Requirement โดยสรุปมีข้อบกพร่อง

                       รวมทั้งสิ้น 79 ข้อ โดยเฉพาะประเด็นหลัก 2 เรื่อง คือ Penicillin production and the possible
                                                                                      2
                       contamination และ The weakness of the quality assurance system  จึงน ามาสู่การตัดสินใจ
                       ของ อภ.เลือกแนวทางการก่อสร้างโรงงานผลิตยาต้านไวรัสเอดส์แห่งใหม่ใน ปีพ.ศ. 2551 ณ เลขที่

                       138 ถนนรังสิต-นครนายก อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี
                                                              3
                               ในปีพ.ศ.2553 อภ. ร่วมกับส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา  และ
                                                            ั
                       กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จัดท าแผนพฒนาศักยภาพที่ยั่งยืนในประเทศไทย เรื่อง WHO
                                                                      ั
                       Prequalification Scheme และแผนองค์รวมของการพฒนาศักยภาพเครือข่ายการวิจัยพฒนาและ
                                                                                                  ั
                                                                  ั
                       การผลิตวัคซีนไข้หวัดใหญ่ โดยในวันที่ 8 กุมภาพนธ์ พ.ศ. 2554 รมว.สาธารณสุข (นายจุรินทร์


                       1  ThaiPR.NET. https://www.ryt9.com/s/prg/268814

                       2  WHO Inspection Report page 3 of 19
                       3  ล าดับการก่อสร้างโรงงานผลิตยารังสิต ข้อมูลจากการน าเสนอ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23