Page 26 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 26
บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม | 9
น้อยที่สุด จึงสามารถผลิตตัวยาส าคัญ (Active pharmaceutical ingredients (APIs)) เช่น ยา
ปฏิชีวนะได้ ดังนั้นประเทศบังคลาเทศจึงเป็นตัวอย่างแนวทางการด าเนินการที่ดี ในการมุ่งเน้นปัจจัย
สนับสนุนเพื่อให้บรรลุผลลัพธ์
ั
ประเทศเอธิโอเปีย เป็นตัวอย่างของประเทศที่พฒนาน้อยที่สุด ที่รัฐบาล
สนับสนุนการลงทุนจากต่างประเทศในการสร้างโรงงานผลิตยาต้านมาลาเรียและสารน้ าที่ให้ทาง
หลอดเลือด รวมถึงผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตยา คือ แคปซูลแข็ง ซึ่งแคปซูลแข็งนี้ผลิตจาก
โรงงานร่วมทุนระหว่างประเทศจีนและประเทศเอธิโอเปีย ในชื่อบริษัท Sino-Ethiop Associate
(Africa) Private Limited Company โดยโรงงานแห่งนี้ได้รับการรับรองมาตรฐาน GMP ในระดับ
สากล สามารถรองรับตลาดในประเทศและมีการส่งออกผลิตภัณฑ์ไปยังประเทศในภูมิภาคแอฟริกา
และตะวันออกกลาง นอกจากนี้บริษัท Sino-Ethiop ยังได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐบาล
เยอรมนีที่ชื่อ Bundesministerium für wirtschaftliche Zusammenarbeit und Entwicklung
(BMZ)/Deutsche Gesellschaft für Internationale Zusammenarbeit (GIZ) ในการผลิตยาชื่อ
สามัญอย่างยั่งยืน
ั
ประเทศอกันดา เป็นตัวอย่างของประเทศที่พฒนาน้อยที่สุด ที่รัฐบาลให้การ
ู
ั
สนับสนุนการท าข้อตกลงแบบเฉพาะเจาะจงกับผู้ผลิตในประเทศก าลังพฒนาเพอก่อตั้งบริษัทร่วมทุน
ื่
ที่มีศักยภาพในการผลิตยาต้านไวรัสเอดส์ (ARVs) และยาต้านมาลาเรียคุณภาพสูง แต่ราคาย่อมเยา
เพื่อส่งให้กับประเทศในแถบแอฟริกาตะวันออก คือ บริษัท Quality Chemicals Industries Limited
ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนระหว่างผู้ผลิตยาชื่อสามัญจากประเทศอนเดีย บริษัท Cipla และ จาก
ิ
ู
ประเทศอกันดา บริษัท Quality Chemicals Limited ซึ่งบริษัทร่วมทุนนี้เป็นตัวอย่างที่น่าสนใจของ
การถ่ายทอดเทคโนโลยีและความรู้เชิงปฏิบัติการเพื่อสนับสนุนการผลิตยาต้านไวรัสเอดส์ (ARVs) และ
ยาต้านมาลาเรียอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ยังเป็นแรงกระตุ้นและสนับสนุนให้บริษัท Cipla เลือกประเทศ
อกันดาและโรงงานยาในประเทศเป็นคู่ร่วมทุน ในการท าข้อตกลงดังกล่าวนี้บริษัทร่วมทุน Quality
ู
Chemicals ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นจ านวนมาก
ประเทศไทย ภายใต้ความร่วมมือของบริษัท Siam Bioscience ประเทศไทย
และ Center of Molecular Immunology (CIM) ประเทศคิวบา
บริษัทสยามไบโอไซเอนซ์ จ ากัด (Siam Bioscience-SBS) เป็นบริษัทที่ก่อตั้ง
โดยบริษัททุนลัดดาวัลย์ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของส านักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ร่วมวิจัย
กับมหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2552 โดยมีเป้าหมายที่จะผลิตยาชีววัตถุคล้ายคลึง
(Biosimilar) ที่มาจากยาชีววัตถุ (Biologics) ต้นแบบที่ผลิตจากสารชีวภาพ ยาเหล่านี้จะอยู่ในกลุ่มที่
รักษาโรคที่มีค่าใช้จ่ายสูง เช่น โรคมะเร็ง โรคภูมิคุ้มกัน กลุ่มยาต้านไวรัส กลุ่มโรคโลหิตวิทยา และโรค
ไม่ติดต่อบางรายการ เป็นยาที่มีราคาแพงมาก การผลิตยาเหล่านี้ในประเทศไทยได้เมื่อสิทธิบัตร