Page 29 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 29

Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ            | 12




                        และเรารับเทคโนโลยีมาเรียนรู้ในขณะเดียวกันเราเก่งหรือช านาญด้านใดเราก็รับมาเป็นผู้ท าและ
                        ถ่ายทอดเทคโนโลยี ในปัจจุบันบริษัทรับถ่ายทอดเทคโนโลยีจาก Center of Molecular

                        Immunology หรือ CIM จากประเทศคิวบา ซึ่งที่นี่แตกต่างจากที่อนคือไม่ได้มุ่งแค่ขายเทคโนโลยี
                                                                               ื่
                                                                                           ึ่
                                                                            ื่
                        แต่จะมีการพัฒนาร่วมกัน โดยเขาถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเพอให้เราสามารถพงพาตนเองได้ ซึ่ง
                                                             12
                        จุดนี้ก็ถือได้ว่ามีลักษณะการท างานที่ตรงกัน”


                                                                            ิ่
                                         ปัจจุบัน SBS มีผลิตภัณฑ์ส าคัญคือ ยาเพมเม็ดเลือดแดงส าหรับผู้ป่วยไตวาย
                                          ิ่
                       ระยะสุดท้าย และยาเพมเม็ดเลือดขาวส าหรับผู้ป่วยมะเร็งที่รับคีโมและภูมิต้านทานลดลง ยาทั้ง 2
                       รายการได้ผ่านการขึ้นทะเบียนจาก อย. และได้รับการบรรจุเข้าบัญชียาของส านักงานหลักประกัน

                       สุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) และส านักงานประกันสังคมแล้วตามนโยบายการสนับสนุนยานวัตกรรม ใน
                       ปี พ.ศ. 2563 SBS มีแผนจะผลิตยาชีววัตถุในกลุ่มโมโนโคลนอลแอนติบอดี้ 6 รายการ ส่วนใหญ่เป็น

                       ยารักษาโรคมะเร็ง ได้แก่ยารักษามะเร็งต่อมน้ าเหลือง มะเร็งล าไส้ใหญ่ มะเร็งเต้านม โรคสะเก็ดเงิน

                       โรคแพ้ภูมิตัวเอง โรครูมาตอยข้ออักเสบ และโรคล าไส้อักเสบ
                                         ประเทศอินเดีย

                                                           ิ
                                         เป็นที่ทราบกันดีว่า อนเดียผลิตยาชื่อสามัญส่งออกจ านวนมาก จนได้รับการ
                                                                                                     ็
                       ขนานนามว่า ร้านยาของโลก เพราะสามารถผลิตได้ในราคาที่ถูกกว่ามาก เมื่อมียอดส่งออกมากกยิ่งท า
                       ให้ต้นทุนการผลิตถูกลง แม้อนเดียในฐานะสมาชิกองค์การการค้าโลก (WTO) จะต้องแก้ไขกฎหมาย
                                               ิ
                       สิทธิบัตรตามความตกลงด้านทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้า หรือความตกลงทริปส์ (TRIPS)

                       ต้องให้สิทธิบัตรในผลิตภัณฑ์ยา (Product Patent) ไม่ใช่แค่กระบวนการที่ได้สิทธิบัตร (Process
                       Patent) เท่านั้น แต่อนเดียก็ใช้ช่วงเวลาเปลี่ยนผ่านอย่างเต็มที่จนท าให้อตสาหกรรมยาในอนเดียมี
                                         ิ
                                                                                    ุ
                                                                                                   ิ
                       ความเข้มแข็งอย่างมาก
                                                                       ิ
                                         “มูลค่าการส่งออกยาและเวชภัณฑ์อนเดียในช่วงปี พ.ศ. 2549-2555 คือ 1.27
                       แสนล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (3.81 ล้านล้านบาท) เพมขึ้นเกือบ 5 เท่าตัวจากช่วงเดียวกันก่อนหน้า ที่มี
                                                                ิ่
                                                                           13
                              ี
                       มูลค่าเพยง 2.7 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (8.1 แสนล้านบาท)”  ขณะที่ตลาดยาในประเทศก็เติบโต
                       อย่างรวดเร็ว ตัวเลขเมื่อปี พ.ศ. 2556 ชี้ว่า “ตลาดยาอนเดียมีมูลค่าสูงถึง 7 แสนล้านรูปี หรือ
                                                                       ิ
                       ประมาณ 14,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และก าลังเติบโตในอัตรา 12-14 % ต่อปี จะน้อยกว่าก็เพยงแต่
                                                                                                     ี
                       จีนที่โตที่ 19% โดยขณะนั้นนักวิเคราะห์คาดว่า ภายในปี พ.ศ. 2559 ตลาดยาในอนเดียจะมีมูลค่าถึง
                                                                                           ิ



                       12  https://bit.ly/3432DHO

                       13  คณิน บุญญะโสภัต. 2556. รู้จักอตสาหกรรมยาอินเดีย. หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับวันท 11 - 14 ส.ค.
                                                ุ
                                                                                           ี่
                       2556. เข้าถึงได้ที่: https://www.hfocus.org/content/2013/08/4312
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34