Page 32 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 32

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม                                                                                                       | 15




                                     2)  North–south transfer of technology related to local production
                       of pharmaceuticals

                                         เป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตในรูปแบบที่บริษัทเภสัชภัณฑ์ขนาดใหญ่ใน

                               ั
                       ประเทศพฒนาแล้ว มีหน่วยงานวิจัยและพฒนาเป็นของตนเอง ไปลงทุนก่อสร้างโรงงานในประเทศ
                                                          ั
                       ก าลังพัฒนา ซึ่งบริษัทข้ามชาตินี้ถือครองสิทธิบัตรยาครอบคลุมหลายรายการยาและมอบสิทธิบัตรการ
                       ผลิตยาเหล่านั้นผ่านการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับบริษัทลูกนั่นเอง  แรงขับเคลื่อนของการลงทุนข้าม

                                                          ั
                       ชาติจากบริษัทขนาดใหญ่ในประเทศก าลังพฒนานั้น มีความแตกต่างจากแรงขับเคลื่อนของการลงทุน
                       ก่อสร้างโรงงานในต่างประเทศของบริษัทจากประเทศก าลังพัฒนาในรูปแบบข้อ 1

                                                                                             ิ
                                         กรณีศึกษาการถ่ายทอดเทคโนโลยีในรูปแบบนี้ ได้แก่ ประเทศอนโดนีเซีย ซึ่งมี
                       บริษัทแม่จากประเทศพัฒนาแล้ว เช่น ประเทศในแถบยุโรปตะวันตก สหรัฐอเมริกา และประเทศญี่ปุ่น
                       เข้ามาลงทุนก่อสร้างโรงงานในประเทศอนโดนีเซีย บริษัทแม่จากประเทศญี่ปุ่นที่มีหน่วยงานวิจัยและ
                                                        ิ
                       พฒนาเป็นของตนเอง ได้เริ่มเข้ามาก่อสร้างโรงงานตั้งแต่ช่วงปี 1970s ได้แก่ บริษัท PT Takeda
                        ั
                       Indonesia (Takeda), PT Eisai Indonesia (Eisai), PT Tanabe Indonesia (Mitsubishi Tanabe
                       Pharmaceuticals), PT Otsuka Indonesia (Otsuka) และ PT Meiji Indonesia (Meiji) บริษัทลูก

                       เหล่านี้ผลิตเพอส่งขายทั้งในประเทศและส่งออกประเทศในทวีปเอเชีย รวมถึงประเทศในกลุ่มอาเซียน
                                  ื่
                                                                                               ิ
                       การด าเนินการในรูปแบบที่มีบริษัทแม่สายการวิจัยและพฒนานี้ถือว่าเป็นลักษณะพเศษ ควรแก่
                                                                        ั
                       การศึกษา เนื่องจากปลายปี 2008 กระทรวงสาธารณสุขของประเทศอนโดนีเซียออกกฎให้บริษัทข้าม
                                                                                ิ
                                                         ิ
                       ชาติที่ต้องการขึ้นทะเบียนยาในประเทศอนโดนีเซียต้องมีฐานการผลิตในประเทศอนโดนีเซียด้วย ถือ
                                                                                           ิ
                       เป็นเงื่อนไขหนึ่งในการอนุมัติทะเบียนยา
                                     3)  State-supported creation of domestic technological capacities

                       related to production of pharmaceuticals

                                         เป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยีในรูปแบบที่ผู้ผลิตยาชื่อสามัญได้รับการสนับสนุน
                       โดยตรงจากรัฐบาล โดยอาจเป็นการจัดสรรงบประมาณจากรัฐบาลหรือให้การช่วยเหลือด้านการเงิน

                       แก่หน่วยงานของรัฐบาลที่มีหน่วยวิจัยและพฒนาเป็นของตนเอง องค์การเภสัชกรรม ประเทศไทย
                                                            ั
                                      ั
                       มีหน่วยวิจัยและพฒนาที่เข้มแข็งและมีความสามารถในการค้นคว้าวิจัยที่หลากหลาย (รวมถึงยาต้าน
                       ไวรัสเอดส์ (ARVs) และวัคซีน) มีศักยภาพในการจดสิทธิบัตรเทคโนโลยีของตนเอง ซึ่งปัจจุบันยังไม่มี

                       การส่งออกผลิตภัณฑ์ออกสู่ต่างประเทศ (ไม่ได้แก้ตาม comment นะคะ ไม่รู้จะแก้ยังไงค่า)

                                         การให้การสนับสนุนโดยตรงจากรัฐบาลแก่ผู้ผลิตยาชื่อสามัญ รวมทั้งการออก
                                             ุ
                       กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอตสาหกรรม นับเป็นกลยุทธ์ที่แข็งแกร่งที่หลายประเทศให้ความสนใจ
                       ด าเนินการ วัตถุประสงค์หลักคือเพอเพมการเข้าถึงยา ซึ่งรัฐบาลไทยได้เล็งเห็นความส าคัญของการ
                                                    ื่
                                                        ิ่
                                                                                                 ั
                       วิจัยและผลิตวัคซีนภายในประเทศ และเมื่อเกิดการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ สายพนธ์ H1N1
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37