Page 35 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 35

Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ            | 18




                       เนื่องมาจากมีการพูดถึงโดยบุคคลที่มีชื่อเสียง ตัวอย่างการถ่ายทอดเทคโนโลยีในลักษณะดังกล่าว เช่น
                               ์
                       การตีพิมพ กิจกรรมการเรียนการสอน การประชุม การอบรม และการศึกษาดูงาน เป็นต้น
                              2)  วิศวกรรมย้อนกลับ (Reverse engineering)

                                 วิศวกรรมย้อนกลับ เป็นกระบวนการค้นหาโครงสร้าง และ/หรือ หน้าที่การท างานของ
                                                              ุ
                       อปกรณ์หรือระบบหนึ่งๆ โดยแยกชิ้นส่วนของอปกรณ์ออกจากกัน วิเคราะห์การท างานในแต่ละส่วน
                        ุ
                       จากนั้นน าข้อมูลที่ได้มาสร้างอปกรณ์หรือระบบใหม่ซึ่งสามารถท างานได้เหมือนเดิม โดยปราศจากการ
                                               ุ
                       คัดลอกจากต้นแบบ ส าหรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีโดยอาศัยหลักการวิศวกรรมย้อนกลับเป็นการ
                                                                                                     ั
                       วิเคราะห์เทคโนโลยีและสร้างเทคโนโลยีที่ต้องการขึ้นมาเองโดยปราศจากการช่วยเหลือจากผู้พฒนา
                       เทคโนโลยีนั้นๆ

                              3)  โครงการ (Planned channels)
                                 การถ่ายทอดเทคโนโลยีในรูปแบบโครงการเป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นโดยความ

                       สมัครใจของผู้ถ่ายโอนและผู้รับโอนเทคโนโลยีผ่านการท าข้อตกลง โดยผู้รับโอนเทคโนโลยีจะได้รับ

                       อนุญาตให้เข้าถึงเทคโนโลยีที่ถูกถ่ายโอนผ่านโครงการในรูปแบบต่างๆ เช่น ใบอนุญาต (Licensing)
                       สิทธิในการเป็นผู้แทนจ าหน่าย (Franchise)  กิจการร่วมค้า (Joint venture) การจ้างเหมาแบบ

                       เบ็ดเสร็จ (Turnkey project) การลงทุนโดยตรงระหว่างประเทศ (Foreign direct investment:

                       FDI) และกลุ่มความร่วมมือ (Technological consortium & joint R&D) เป็นต้น


                                                                  19
                       2.5   การถ่ายทอดเทคโนโลยีผ่านระบบสิทธิบัตร
                                                                 ั
                              การถ่ายทอดเทคโนโลยีมักมีความเกี่ยวพนกับระบบสิทธิบัตร ในส่วนระบบสิทธิบัตรนั้น
                       นอกจากมีบทบาทในการเป็นแรงจูงใจให้เกิดการประดิษฐ์คิดค้นภายในประเทศแล้วยังถูกคาดหวังว่า

                       จะมีบทบาทที่ส าคัญในการท าให้ประเทศก าลังพฒนาได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี ความมุ่งหมาย
                                                               ั
                       ดังกล่าวปรากฏชัดเจนนับตั้งแต่การริเริ่มให้มีความตกลงด้านทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวเนื่องกับ
                       การค้า (Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights, TRIPs) หรือ ความตก-

                                                              ุ
                       ลงทริปส์ โดยพบว่าภายหลังการประชุมในรอบอรุกวัยในปี ค.ศ. 1994 เป็นต้นมา ความตกลงทริปส์ได้
                       กลายเป็นเงื่อนไขของการเป็นสมาชิกขององค์การการค้าโลก (WTO) ซึ่งผู้เสนอส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่ม
                       ประเทศที่พฒนาแล้ว หรือที่เรียกว่า global North โดยกลุ่มประเทศดังกล่าวสนับสนุนว่าความตก
                                ั



                       19  ดัดแปลงจากการทบทวนวรรณกรรมของ อุษาวดี สุตะภักดิ์ เรื่อง “ระบบสิทธิบัตรและการถ่ายทอดเทคโนโลยี
                       และการเปรียบเทียบกฎหมาย นโยบาย การ บริหารจัดการที่ส่งผลต่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีผ่านระบบสิทธิบัตร

                                                                                          ี่
                       ของประเทศไทยและต่างประเทศ” น าเสนอต่อศูนย์วิชาการเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา วันท 28 กันยายน พ.ศ.
                       2562
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40