Page 39 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 39
Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ | 22
การถ่ายทอดเทคโนโลยีผ่านระบบสิทธิบัตรพบได้ 2 ลักษณะ คือ 1) การถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผ่านข้อมูลสิทธิบัตร และ 2) การถ่ายทอดเทคโนโลยีผ่านการท าสัญญาให้ใช้สิทธิ สรุปดังนี้
1) การถ่ายทอดเทคโนโลยีผ่านข้อมูลสิทธิบัตร
ระบบสิทธิบัตรมีความส าคัญในการสร้างองค์ความรู้และเป็นแหล่งข้อมูลส าคัญให้แก่
สังคม เนื่องจากกฎหมายสิทธิบัตรมีบทบังคับให้ผู้ขอรับสิทธิบัตรต้องเปิดเผยรายละเอยดและข้อมูล
ี
การประดิษฐ์ของตนให้มากที่สุดเท่าที่จะท าได้ การรวบรวมค าขอรับสิทธิบัตรต่างๆ จะก่อให้เกิดเป็น
ี
แหล่งข้อมูลด้านเทคโนโลยีที่ครอบคลุมสมบูรณ์ แต่ต้องอยู่ในเงื่อนไขที่ว่าการเปิดเผยรายละเอยดการ
ประดิษฐ์จะต้องกระท าอย่างชัดเจนและสมบูรณ์ นอกจากนี้ส านักงานสิทธิบัตรจะต้องมีระบบการ
ตรวจสอบค าขอรับสิทธิบัตรที่มีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามในสภาพความเป็นจริงของประเทศไทยนั้น
ี
พบว่าเอกสารค าขอรับสิทธิบัตร ไม่มีรายละเอยดที่ชัดเจนมากเพยงพอในการต่อยอดการวิจัยและ
ี
25
พัฒนา กลายเป็นอุปสรรคส าคัญในการถ่ายทอดเทคโนโลยี
2) การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วยการท าสัญญา
การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วยการท าสัญญา หมายถึง การที่บุคคลในประเทศผู้รับการ
ถ่ายทอดท าสัญญาเกี่ยวกับการใช้สิทธิทางเทคโนโลยีกับบุคคลต่างชาติ โดยชาวต่างชาติผู้เป็นเจ้าของ
เทคโนโลยีตกลงที่ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีของตนให้แก่ผู้รับการถ่ายทอด การท าสัญญา
ถ่ายทอดเทคโนโลยีท าได้หลายรูปแบบ อาทิเช่น ข้อตกลงอนุญาตให้ใช้สิทธิ (licensing agreements)
สัญญาให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิค (technical assistance contracts) สัญญาการจัดการ
(management contracts) หรือสัญญาจ้างเหมาเบ็ดเสร็จ (turnkey contracts) เป็นต้น การ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วยการท าสัญญาเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพมาก เนื่องจากประเทศก าลังพฒนามี
ั
โอกาสที่จะคัดสรรเทคโนโลยีตามที่ต้องการเช่นเดียวกับการซื้อสินค้า
2.6 กลยุทธ์การถ่ายทอดเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมการผลิตยา
ุ
เนื่องจากอตสาหกรรมยาเป็นอุตสาหกรรมที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ต้องการการศึกษาวิจัย
ที่เข้มข้น เป็นอตสาหกรรมที่มีก าไรสูงแต่ในขณะเดียวกันก็เป็นอตสาหกรรมที่มีความเสี่ยงสูงด้วย
ุ
ุ
ุ
ั
เช่นกัน นอกจากนี้อตสาหกรรมยายังเป็นอตสาหกรรมที่ใช้เวลาในการพฒนาค่อนข้างนานและใช้เงิน
ุ
ี
ลงทุนสูง บริษัทในอตสาหกรรมยาบางบริษัทอาจไม่มีศักยภาพเพยงพอในการวิจัยและพฒนาสูตร
ั
ุ
25 ผลการสัมภาษณ์ตัวแทนอุตสาหกรรมยาภายในประเทศ ในงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบสิทธิบัตรยาในประเทศ
ไทย (2557) โดยนุศราพร เกษสมบูรณ์ และคณะ