Page 40 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 40

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม                                                        | 23





                                              ์
                                                           26
                       ต ารับจนกระทั่งได้ผลิตภัณฑออกสู่ท้องตลาด  ดังนั้นการถ่ายทอดเทคโนโลยีจึงเป็นปัจจัยส าคัญอย่าง
                                                                                             ุ
                                       ุ
                                 ั
                       หนึ่งในการพฒนาอตสาหกรรมยาในประเทศก าลังพฒนา การถ่ายทอดเทคโนโลยีในอตสาหกรรมการ
                                                                 ั
                                                                      ื่
                       ผลิตยา หมายถึง กระบวนการที่จ าเป็นในการผลิตยาเพอให้เกิดความส าเร็จในการค้นพบยาสู่การ
                                                                                                     ั
                       พฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ จากการวิจัยทางคลินิกไปสู่เชิงพาณิชย์ หรือเป็นกระบวนการที่ผู้พฒนา
                        ั
                                                                    ั
                       เทคโนโลยีได้ท าให้เทคโนโลยีนั้นพร้อมใช้งานส าหรับพนธมิตรทางการค้าที่ต้องการใช้ประโยชน์จาก
                       เทคโนโลยีนั้นๆ ในการพัฒนาต ารับยานั้น จ าเป็นที่ต้องเพิ่มขนาดของการผลิตยาในหลายขั้นตอน เช่น
                       การผลิตยาปริมาณน้อย (0.5-2 กิโลกรัม) ในห้องปฏิบัติการ ไปสู่การเพมขนาดเป็น 20-100 กิโลกรัม
                                                                                 ิ่
                       ส าหรับการผลิตต้นแบบในโรงงาน (pilot scale) และการผลิตที่มากกว่า 200 kg ที่เรียกว่าเป็นขนาด

                       การผลิตระดับอตสาหกรรม (production scale) ในขั้นตอนเหล่านี้ล้วนต้องอาศัยการถ่ายทอด
                                    ุ
                       เทคโนโลยีเพื่อการเพิ่มขนาดการผลิตที่มากขึ้นทั้งสิ้น
                              กลยุทธ์ที่ส าคัญในอตสาหกรรมยาที่ใช้ในการถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้แก่ การให้สิทธิ
                                               ุ
                       (Licensing) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการให้สิทธิหรือใบอนุญาตในการใช้เทคโนโลยีโดยแลกเปลี่ยนกับการ

                       ช าระเงินตามที่ตกลงกันไว้ ซึ่งโดยทั่วไปจะเป็นค่าตอบแทนการใช้สิทธิตามปริมาณหรือมูลค่าของการ
                       ขายสิ่งประดิษฐ์นั้นๆ การถ่ายทอดเทคโนโลยีโดยการให้สิทธิแบ่งเป็น Licensing-in strategy และ

                       Licensing-out strategy โดยในกรณีของ licensing-in strategy เป็นการรับเทคโนโลยีในลักษณะที่

                       เกี่ยวข้องกับการวิจัยขั้นพื้นฐานเข้ามาของบริษัทขนาดเล็กซงขาดแคลนสิ่งอ านวยความสะดวกส าหรับ
                                                                       ึ่
                       การท าวิจัย หรือเป็นการรับเทคโนโลยีส าหรับการผลิตผลิตภัณฑใหม่เพอขยายสายการผลิตของบริษัท
                                                                           ์
                                                                                 ื่
                       ขนาดใหญ่ ส่วน licensing-out strategy เป็นการให้สิทธิแก่บริษัทหรือหน่วยงานอน เช่น บริษัท
                                                                                              ื่
                       ขนาดใหญ่ให้สิทธิการใช้เทคโนโลยีที่มีมูลค่าน้อยแก่บริษัทหรือหน่วยงานอน หรือบริษัทขนาดเล็กให้
                                                                                    ื่
                                                                                27
                       สิทธิแก่บริษัทอื่นเนื่องจากประสบปัญหาด้านการเงินการลงทุน เป็นต้น















                       26  Manthan Janodia, Virendra S Ligade, and Nayanabhirama Udupa. Facets of technology transfer:

                       A perspective of pharmaceutical industry. Journal of Intellectual Property Rights. 2008: 13(1);
                       28-34.
                       27  Manthan Janodia, Virendra S Ligade, and Nayanabhirama Udupa. Facets of technology transfer:

                       A perspective of pharmaceutical industry. Journal of Intellectual Property Rights. 2008: 13(1);
                       28-34.
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45