Page 33 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 33
Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ | 16
รวมถึงสถานการณ์ที่ราคาวัคซีนส าหรับป้องกัน Human papilloma virus (HPV) มีราคาสูง จึงท าให้
ื่
เกิดแรงผลักดันให้เกิดนโยบายจากรัฐบาลเพอสร้างความเข้มแข็งแก่ประเทศในการเตรียมความพร้อม
ื่
รับมือต่อโรคที่เกิดจากไวรัสและสามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน รวมทั้งเพอลดการน าเข้าวัคซีนจาก
ต่างประเทศ
4) Creation by the local private sector of domestic technological
capacities related to production of pharmaceuticals
ผู้ผลิตยาชื่อสามัญในประเทศกาลังพัฒนาบางประเทศ ได้ด าเนินการผลิตยาด้วย
ตนเองโดยไม่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลหรือไม่ได้รับการสนับสนุนจากบริษัทข้ามชาติขนาดใหญ่ที่
มีหน่วยวิจัยและพฒนาเป็นของตนเอง โดยเริ่มจากการผลิตยาที่สิทธิบัตรหมดอายุและขยายก าลังการ
ั
ผลิตด้วยการผลิตยารายการอนที่ได้รับสิทธิบัตรให้สามารถผลิตได้ หรือเป็นหุ้นส่วนทางการค้ากับ
ื่
ั
บริษัทข้ามชาติขนาดใหญ่ที่มีหน่วยวิจัยและพฒนาเป็นของตนเอง ตัวอย่างประเทศที่ด าเนินการใน
รูปแบบนี้ได้แก อาร์เจนตินา โคลัมเบีย และจอร์แดน
่
ประเทศอาร์เจนตินา มีมูลค่าการตลาดของเภสัชภัณฑ์ที่สูง ในช่วงก่อนปี 1950s
นักธุรกิจจากยุโรปที่อพยพเข้าสู่ประเทศอาร์เจนตินา ซึ่งได้เริ่มก่อตั้งธุรกิจครอบครัวขนาดเล็กประกอบ
กิจการผลิตเภสัชภัณฑ์และยังมีบทบาทส าคัญจวบจนปัจจุบัน เช่นบริษัท Roemmers, Bago, Roux
Ocefa, Andromaco, Gador, Casasco, Baliarda, Beta, Temis Lostalo และ Phoenix โดย
กรณีศึกษานี้ได้ศึกษาบริษัท ELEA เป็นที่น่าสังเกตว่าในช่วงปี 1950s รัฐบาลอาร์เจนตินาได้ออก
มาตรการกระตุ้นการลงทุนจากบริษัทข้ามชาติ จึงมีบริษัทข้ามชาติหลายบริษัท เช่น Pfizer, Abbott,
Glaxo Welcome, SmithKline Beecham, Bayer, Boehringer Ingelheim, Aventis, Novartis,
Merck, Sharp & Dohme, AstraZeneca, Schering Plough, Wyeth และ Bristol-Myers Squibb
เข้าซื้อกิจการโรงงานในประเทศ อย่างไรก็ตามสัดส่วนทางการตลาดระหว่างบริษัทในประเทศกับ
บริษัทข้ามชาตินั้นใกล้เคียงกัน คือมีการแข่งขันอย่างทัดเทียมนั่นเอง อย่างไรก็ตามยังไม่มีบริษัทข้าม
ชาติบริษัทใดเอาชนะส่วนแบ่งทางการตลาดของบริษัทในประเทศ ซึ่งได้แก่ Roemmers, Bago หรือ
ELEA ได้เลย
ประเทศโคลัมเบีย บริษัทในประเทศหลายแห่งเริ่มต้นกิจการโดยการรับถ่ายทอด
เทคโนโลยีจากบริษัทข้ามชาติผ่านการท าข้อตกลงมอบสิทธิบัตร (licensing agreements) บริษัทใน
ั
ประเทศเหล่านี้จึงเก็บสะสมประสบการณ์มาพฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ของตนเองเมื่อข้อตกลงมอบ
สิทธิบัตรสิ้นสุดลง นอกจากนี้ยังรับการถ่ายทอดความรู้ต่าง ๆ จากผู้ขายวัตถุดิบตัวยาส าคัญจาก
ต่างประเทศและที่ปรึกษาจากบริษัทข้ามชาติ ยกตัวอย่างเช่น บริษัท Tecnoquímicas ซึ่งเป็น
กรณีศึกษาของประเทศโคลัมเบีย ได้รับการถ่ายทอดความรู้อย่างเป็นระบบจากมหาวิทยาลัยแห่ง