Page 41 - แผนการสอน 63-2
P. 41
15
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลังงานความร้อน
บทที่ 1 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงของสสาร เรื่อง หน่วยวัดอุณหภูมิ
รหัส ว 21104 ชื่อรายวิชา วิทยาศาสตร์2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 2 ชั่วโมง
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงานปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจ าวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่
เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร โดยใช้หลักฐานเชิง
ประจักษ์และแบบจ าลอง (ว 2.3 ม.1/2)
จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถสรุปได้ว่า หน่วยที่ใช้วัดอุณหภูมิ ได้แก่หน่วยองศาเซลเซียส องศาฟาเรนไฮต์ และ
หน่วยเคลวิน โดยแต่ละหน่วยมีความสัมพันธ์กัน และเชื่อมโยงความรู้ได้
สาระส าคัญ
การใช้เทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส องศาฟาเรนไฮต์ และเคลวิน การค านวณ
เพื่อเปลี่ยนหน่วยวัดอุณหภูมิ โดยพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือดและจุดเยือกแข็ง และสามารถน า
ความรู้เกี่ยวกับการเปรียบเทียบหน่วยวัดอุณหภูมิไปใช้ในชีวิตประจ าวัน
สาระการเรียนรู้
°
หน่วยที่ใช้วัดอุณหภูมิ มีอยู่หลายหน่วย ที่นิยมใช้ ได้แก่ หน่วยองศาเซลเซียส (C) ที่แบ่งมาตรา
ส่วนโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดน ชื่อ อัลเดอรส์ เซลซิอัส (Anders Celsius)
°
หน่วยองศาฟาเรนไฮต์ (F) คิดแบ่งมาตราส่วนโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อ กาบรีเอิล
ดานีเอิล ฟาเรนไฮท์ (Gabriel Daniel Fahrenheit) และหน่วยเคลวิน (K) ซึ่งเป็นหน่วยในระบบเอสไอ คิดแบ่ง
มาตราส่วนโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ชื่อ ลอร์ด เคลวิน (Load Kelvin)
เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์จะพบว่าอัตราส่วนระหว่าง
อณหภมทอ่านได้ – จดเยือกแข็ง
ุ
ิ
ู
ุ
ี
่
จดเดอด – จดเยือกแข็ง
ื
ุ
ุ
ของเทอร์มอมิเตอร์ใด ๆ ย่อมมีค่าคงที่เสมอ เขียนในรูปเศษส่วนอย่างต่ าจะสรุปเป็นสูตรได้ ดังนี้
C = F 32 หรือ K = C + 273
°
5 9