Page 62 - แผนการสอน 63-2
P. 62

36


                              - ในตอนที่ 1 นักเรียนต้องติดตั้งเทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิของน้ าที่ต าแหน่งใดบ้าง (จุ่ม
               กระเปาะเทอร์มอมิเตอร์ลงในบริเวณใกล้กับก้นบีกเกอร์ และจุ่มอีกอันลงในบริเวณใกล้กับผิวน้ า ให้กระเปาะ

               เทอร์มอมิเตอร์จมใต้ผิวน้ า)
                              - ในตอนที่ 1 สิ่งที่ต้องสังเกตและวัดมีอะไรบ้าง (สังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นกับเมล็ดแมงลัก และวัด
               อุณหภูมิของน้ าบริเวณใกล้กับก้นบีกเกอร์ และบริเวณใกล้ผิวน้ า ทุก ๆ 30 วินาที จนน้ าเดือด)
                              - ในตอนที่ 2 นักเรียนต้องติดตั้งเทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิของอากาศที่ต าแหน่งใดบ้าง (จัด

               เทอร์มอมิเตอร์ให้กระเปาะอยู่บริเวณปลายบนและปลายล่างของพู่กระดาษ)
                              - ในตอนที่ 2 สิ่งที่ต้องสังเกตและวัดมีอะไรบ้าง (สังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นกับพู่กระดาษ และวัด
               อุณหภูมิของอากาศที่ต าแหน่งปลายบนและปลายล่างของพู่กระดาษ ทุก ๆ 30 วินาที เป็นเวลา 3 นาที)
                       2. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 4 - 5 คน เพื่อท ากิจกรรมที่ 5.6 การถ่ายโอนความร้อนของของเหลว

               และแก๊สเป็นอย่างไร  พร้อมทั้งออกแบบตารางบันทึกผลการท ากิจกรรม
                       3. ให้นักเรียนร่วมกันท ากิจกรรมตามวิธีการด าเนินกิจกรรมตอนที่ 1,2 ในหนังสือเรียน และสังเกตการ
               เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
                       4. ให้นักเรียน 1 - 2 กลุ่ม น าเสนอผลการสังเกต นักเรียนกลุ่มอื่นฟังการน าเสนอ เพื่อเปรียบเทียบผล

               การท ากิจกรรมร่วมกัน หากมีข้อแตกต่างควรอภิปรายเพื่อแก้ไขให้เข้าใจถูกต้องตรงกัน
                       5. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม อภิปรายร่วมกัน และวาดแบบจ าลองการถ่ายโอนความร้อนของของเหลว
               และการถ่ายโอนความร้อนของแก๊ส โดยแสดงถึงการจัดเรียงอนุภาคของของเหลวและของแก๊ส เมื่อได้รับความ

               ร้อน จากนั้นนักเรียนน าเสนอแบบจ าลองที่สร้างขึ้นตามความคิดของกลุ่ม
                       6. ให้นักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูลการถ่ายโอนความร้อนของของเหลวและของแก๊สจากแหล่งข้อมูลที่
               เชื่อถือได้ เช่น หนังสือ เว็บไซต์ หรือวีดิทัศน์ โดยให้นักเรียนระบุแหล่งที่มาของข้อมูล นักเรียนน าข้อมูลที่
               รวบรวมได้มาปรับแก้แบบจ าลองของกลุ่ม พร้อมทั้งอธิบายแนวทางในการปรับแก้แบบจ าลองอีกครั้งหลังการ
               ท ากิจกรรม


               ขั้นที่ 3  อธิบายและลงข้อสรุป
                       1. ให้นักเรียนใช้ผลจากการท ากิจกรรมเพื่อตอบค าถามท้ายกิจกรรม

                       2. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาและศึกษาแบบจ าลองการพาความร้อนในหนังสือเรียนโดยใช้สื่อดิจิทัล
               เสมือนจริง พร้อมกับตอบค าถามระหว่างเรียน จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการน าความรู้
               เรื่องการพาความร้อนไปใช้ประโยชน์ในการออกแบบระบบระบายอากาศในอาคาร นั่นคือการท าช่องเปิดหรือ
               หน้าต่างบริเวณด้านบนอาคารหรือหลังคาเพอระบายอากาศที่มีอุณหภูมิสูงให้ออกจากอาคาร หรือน าความรู้มา
                                                    ื่
               ใช้อธิบายปรากฏการณ์ในธรรมชาติ เช่นการเกิดลม การเคลื่อนที่ของกระแสน้ าในมหาสมุทร เป็นต้น
                       3. ร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า การพาความร้อนเกิดขึ้นกับสสารที่เป็นของเหลวและแก๊ส
               ตัวกลางจะพาความร้อนไปพร้อมกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคของตัวกลาง และความรู้เกี่ยวกับการพาความร้อน
               สามารถน าไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ได้

                       4. ให้นักเรียนเขียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากความเข้าใจของตนเองโดยใช้แผนผังเวนน์เปรียบเทียบความ
               เหมือนและความแตกต่างกันระหว่างการพาความร้อนและน าความร้อน โดยควรสรุปได้ดังตัวอย่างดังนี้
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67