Page 11 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
P. 11

5


                        ซ้ าซาก  และผู้เรียนสามารถที่จะใช้ศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที  และหลักการสอนที่ดีต้องสอนให้

                                                                                 ี้
                        ผู้เรียนรู้จักล าดับขั้นการฝึกส าหรับผู้เรียนในการเรียนคณิตศาสตร์ ดังน
                                      1. การฝึกพื้นฐาน  ควรฝึกให้เกิดทักษะเบื้องต้น ก่อนไม่ควรมองข้ามว่าง่ายเกินไปที่ว่า

                        ง่ายเพราะคิดแบบไม่จ ากัดเวลา ถ้าให้เวลาน้อยลงจะท าให้ยากขึ้นแบบฝึกคิดเลขเร็วนี้ ต้องให้เวลาตัวเอง
                        ถ้าเห็นว่าง่าย ก็ให้เวลาน้อยลง ถ้าเห็นว่ายาก ให้เวลา การท ามากขึ้นตามความสามารถของแต่ละคน

                                      2. การฝึกควรมีสมาธิ หาที่สงบเงียบแล้วจับเวลาหรือแข่งขันกับเพื่อน ตั้งใจท าให้เต็ม

                        ความสามารถ และควรฝึกทุกวัน
                                      3. ตรวจหาค าตอบด้วยตัวเองช่วยให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น  ถูกหรือผิดไม่ส าคัญว่าตั้งใจคิด

                        หรือเปล่า ถ้ามีข้อผิด คิดผิดอย่างไร ทบทวนข้อผิดพลาดของ
                                      4. บันทึกการฝึกฝน ควรบันทึกการฝึกฝนทุกครั้งเพื่อทราบพัฒนาการของตนเอง จะท า

                        ให้ทราบความก้าวหน้าและแข่งขันกับตัวเอง


                        3. เอกสำรที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึกทักษะ

                               3.1 ความหมายของแบบฝึกทักษะ
                               แบบฝึกหรอแบบฝึกหัดหรอแบบฝึกเสรมทักษะ  เป็นสื่อการเรยนประเภทหนงส าหรับให้
                                                                                      ี
                                                                                                   ึ่
                                                                  ิ
                                         ื
                                                      ื
                        นักเรียนฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจและทักษะเพิ่มขึ้น  มีผู้ให้ความหมายของแบบฝึกทักษะ
                        หรือชุดการฝึกไว้ ดังน  ี้
                               สุวิทย์ มูลค า และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2550, น. 53) ได้สรุปความส าคัญของแบบฝึกทักษะ
                        ว่าแบบฝึกทักษะมีความส าคัญต่อผู้เรียนไม่น้อย ในการที่จะช่วยส่งเสริมสร้างทักษะให้กับผู้เรียนได้เกิด

                                                                                                          ี
                        การเรียนรู้และเข้าใจได้เร็วขึ้น  ชัดเจนขึ้น กว้างขวางขึ้นท าให้การสอนของครูและการเรียนของนักเรยน
                        ประสบผลส าเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ
                                                               ุ
                               อกนษฐ์ กรไกร (2549, น. 18) ได้สรปความหมายของแบบฝึกทักษะไว้ว่า แบบฝึกทักษะ
                                   ิ
                                                      ้
                                                  ิ
                                                                    ั
                                                                       ี
                        หมายถึง สื่อที่สรางขึ้นเพื่อเสรมสรางทักษะให้แก่นกเรยน มีลักษณะเป็นแบบฝึกหัดที่มีกิจกรรมให้
                                       ้
                        นักเรียนทาโดย มีการทบทวนสิ่งที่เรียนผ่ามาแล้วจากบทเรียน ให้เกิดความเข้าใจและเป็นการฝึกทักษะ
                        และแก้ไขในจุดบกพร่องเพื่อให้นักเรียนได้มีความสามารถและศักยภาพยิ่งขึ้นเข้าใจบทเรียนดีขึ้น
                        จากความหมายของแบบฝึกทักษะดังกล่าวข้างต้นผู้วิจัยเห็นว่าแบบฝึกทักษะเป็นสื่อการเรียนส าหรับให้
                        นักเรียนฝึกปฏิบัติ  เพื่อทบทวนเนื้อหาและฝึกฝนทักษะต่างๆ ให้ดีขึ้น หลังจากที่ได้เรียนบทเรียนแล้วใช้

                        ควบคู่กับการเรียน โดยยกตัวอย่างปัญหาที่ครอบคลุมเนื้อหาความรู้ต่างๆ ที่ได้เรียนไปแล้ว

                               3.2 ประโยชน์ของแบบฝึกทักษะ
                               สุวิทย์ มูลค า และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2550, น. 53–54) ได้สรุปประโยชน์ของแบบฝึก

                        ทักษะดังน  ี้

                                      1. ท าให้เข้าใจบทเรียนดีขึ้น เพราะเป็นเครื่องอ านวยประโยชน์ในการเรียนร  ู้
                                      2. ท าให้ครูทราบความเข้าใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียน

                                      3. ฝึกให้เด็กมีความเชื่อมั่นและสามารถประเมินผลของตนเองได้
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16