Page 15 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
P. 15
9
้
ั
ั
ข้อมูลที่นกจตวิทยาได้ท าการค้นพบ และทดลองไว้แล้ว ส าหรบการสรางแบบฝึกทักษะในส่วนที่มี
ิ
ความสัมพันธ์กันดังน ี้
ทฤษฎีการลองถูกลองผิดของธอร์นไดค์ สรุปเป็นกฎเกณฑ์การเรียนรู้ 3 ประการ คือ
1. กฎความพร้อม หมายถึง การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลพร้อมที่จะกระท า
2. กฎผลที่ได้รับ หมายถึง การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นเพราะบุคคลกระท าซ้ าง่าย
3. กฎการฝึกหัด หมายถึง การฝึกหัดให้บุคคลทากิจกรรมต่างๆ นั้น ผู้ฝึกจะต้อง
ควบคุมและจัดสภาพการให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของตนเอง บุคคลจะถูกก าหนดลักษณะพฤติกรรม
ที่แสดงออก ดังนั้น ผู้สร้างแบบฝึกทักษะจึงจะต้องก าหนดกิจกรรมตลอดจนค าสั่งต่างๆ ในแบบฝึกทักษะ
ให้ผู้ฝึกได้แสดงพฤติกรรมสอดคล้องกับจุดประสงค์ที่ผู้สร้างต้องการ
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมของสกินเนอร์ ซึ่งมีความเชื่อว่า สามารถควบคุมบุคคลให้ท าตาม
ความประสงค์หรือแนวทางที่ก าหนดโดยไม่ต้องค านึงถึงความรู้สึกทางด้านจิตใจของบุคคลผู้นั้นว่าจะรู้สึก
นึกคิดอย่างไร เขาจึงได้ทดลองและสรุปว่าบุคคลสามารถเรียนรู้ด้วยการกระท าโดยมีการเสรมแรงเป็น
ิ
ตัวการ เป็นบุคคลตอบสนองการเร้าของสิ่งเร้าควบคู่กันในช่วงเวลาที่เหมาะสม สิ่งเร้านั้นจะรักษาระดับ
หรือเพิ่มการตอบสนองให้เข้มขึ้น
วิธีการสอนของกาเย่ ซึ่งมีความเห็นว่าการเรียนรู้มีล าดับขั้น และผู้เรียนจะต้องเรียนร ู้
เนื้อหาที่ง่ายไปหายาก การสร้างแบบฝึกทักษะ จึงควรค านึงถึงการฝึกตามล าดับจากง่ายไปหายาก
แนวคิดของบลูม ซึ่งกล่าวถึงธรรมชาติของผู้เรียนแต่ละคนว่ามีความแตกต่างกันผู้เรียนสามารถเรยนร ู้
ี
เนื้อหาในหน่วยย่อยต่างๆ ได้โดยใช้เวลาเรียนที่แตกต่างกัน
จากหลักจิตวิทยาในการสร้างแบบฝึกทักษะที่กล่าวมาข้างต้น พอสรุปได้ว่าการสร้างแบบฝึก
ทักษะควรสร้างให้เหมาะสมกับวัยและระดับความสามารถของนักเรียน และแบบฝึกทักษะควรมีหลาย
รูปแบบที่น่าสนใจและจูงใจนักเรียนให้อยากท า และควรให้นักเรียนได้รับการฝึกฝนบ่อยๆ จนเกิดความ
ช านาญ
4. เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน
4.1 ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นความสามารถของนักเรียนในด้านต่าง ๆ ซึ่งเกิดจากนักเรียนได้รบ
ั
ประสบการณ์จากกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยครูต้องศึกษาแนวทางในการวัดและประเมินผล
ั้
การสร้างเครื่องมือวัดให้มีคุณภาพนน ได้มีผู้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้ดังน ี้
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข (2548, น. 125) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหมายถึง
ขนาดของความส าเร็จที่ได้จากกระบวนการเรียนการสอน
ปราณี กองจินดา (2549, น. 42) กล่าว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถหรือ
ผลส าเร็จที่ได้รับจากกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์เรยนร ู้
ี
ทางด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย และยังได้จ าแนกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้ตามลักษณะของ
วัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนที่แตกต่างกัน