Page 14 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
P. 14

8


                               สุวิทย์ มูลค า และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2550, น. 54–55) ได้สรุปหลักในการสร้างแบบฝึก

                        ทักษะว่าต้องมีการก าหนดเงื่อนไขที่จะช่วยให้ผู้เรียนทุกคนสามารถผ่านล าดับขั้นตอนของทุกหน่วยการ
                        เรียนได้ ถ้านักเรียนได้เรียนตามอัตราการเรียนของตนก็จะท าให้นักเรียนประสบความส าเร็จมากขึ้น

                               จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าหลักในการสร้างแบบฝึกทักษะที่ส าคัญนั้นต้องยึดนักเรียน
                        เป็นหลัก  โดยมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอนว่าจะฝึกเรื่องอะไร จัดเนื้อหาให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย สร้าง

                        แบบฝึกทักษะให้เหมาะกับวัย และระดับความสามารถของนักเรียนมีรูปแบบหลากหลายน่าสนใจ

                        ก าหนดเวลาในการฝึกอย่างเหมาะสม

                               3.5 หลักจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบฝึกทักษะ

                               สุวิทย์ มูลค า และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2550,  น. 62 – 64) ได้เสนอแนะรูปแบบการสร้าง

                        แบบฝึกทักษะ โดยอธิบายว่าการสร้างแบบฝึกทักษะรูปแบบก็เป็นสิ่งส าคัญในการที่จะจูงใจให้ผู้เรียนได้
                        ทดลองปฏิบัติแบบฝึกจึงควรมีรูปแบบที่หลากหลาย มิใช่ใช้แบบเดียวจะเกิดความจ าเจน่าเบื่อหน่าย ไม่

                        ท้าทายให้อยากรู้อยากลองจึงขอเสนอรูปแบบที่เป็นหลักใหญ่ไว้ก่อน  ส่วนผู้สร้างจะน าไปประยุกต์ใช้

                        ปรับเปลี่ยนรูปแบบอื่นๆ ก็แล้วแต่เทคนิคของแต่ละคน ซึ่งจะเรียงล าดับจากง่ายไปหายาก ดังน
                                                                                                     ี้
                                      แบบถูกผิด เป็นแบบฝึกทักษะที่เป็นประโยคบอกเล่า ให้ผู้เรียนอ่านแล้วใส่เครื่องหมาย

                        ถูกหรือผิดตาม ดุลยพินิจของผู้เรียน
                                      แบบจับคู่ เป็นแบบฝึกทักษะที่ประกอบด้วยตัวค าถามหรือตัวปัญหา ซึ่งเป็นตัวยืนไว้ใน

                        สดมภ์ซ้ายมือ โดยมีที่ว่างไว้หน้าข้อเพื่อให้ผู้เรียนเลือกหาค าตอบที่ก าหนดไว้ในสดมภ์ขวามือมาจับคู่กับ
                        ค าถามให้สอดคล้องกัน โดยใช้หมายเลขหรือรหัสค าตอบไปวางไว้ที่ว่างหน้าข้อความหรือจะใช้การโยง

                        เส้นก็ได้

                                      แบบเติมค าหรือเติมข้อความ เป็นแบบฝึกทักษะที่มีข้อความไว้ให้ แต่จะเว้นช่องว่างไว้
                        ให้ผู้เรียนเติมค าหรือข้อความที่ขาดหายไป ซึ่งค าหรือข้อความที่น ามาเติมอาจให้เติมอย่างอิสระหรือการ

                        ก าหนดตัวเลือกให้เติมก็ได้

                                      แบบหลายตัวเลือก เป็นแบบฝึกทักษะเชิงแบบทดสอบ โดยจะมี 2 ส่วน คือส่วนที่เป็น
                        ค าถาม ซึ่งจะต้องเป็นประโยคค าถามที่สมบูรณ์ ชัดเจนไม่คลุมเครือ ส่วนที่ 2 เป็นตัวเลือก คือค าตอบซึ่ง

                        อาจจะมี 3-5 ตัวเลือกก็ได้ ตัวเลือกทั้งหมดจะมีตัวเลือกที่ถูกที่สุดเพียงตัวเลือกเดียวเท่านั้น
                                      แบบอัตนัย คือความเรียงเป็นแบบฝึกทักษะที่ตัวค าถาม ผู้เรียนต้องเขียนบรรยายตอบ

                        อย่างเสรีตามความรู้ความสามารถ  โดยไม่จ ากัดค าตอบ แต่ก าจัดค าตอบ แต่จ ากัดในเรื่องเวลา  อาจใช้
                        ค าถามในรูปทั่วๆ ไป หรือเป็นค าสั่งให้เขียนเรื่องราวต่างๆ ก็ได้

                               สุวิทย์ มูลค า และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2550, น. 54 – 55) ได้อธิบายแนวคิดและหลักการ

                        สร้างแบบฝึกทักษะว่า การศึกษาในเรื่องจิตวิทยาการเรียนรู้  เป็นสิ่งที่ผู้สร้างแบบฝึกทักษะ มิควรละเลย
                                                                                 ิ
                                       ู้
                                   ี
                        เพราะการเรยนรจะเกิดขึ้นได้ต้องขึ้นอยู่กับปรากฏการณ์ของจตและพฤติกรรมที่ตอบสนอง
                                                                                                         ู้
                        นานาประการ  โดยอาศัยกระบวนการที่เหมาะสมและเป็นวิธีที่ดีที่สุด  การศึกษาทฤษฎีการเรียนรจาก
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19