Page 4 - TH Edition Ver3
P. 4
1
1. เหตุผลความส าคัญ/ที่มา ของโครงการ (โดยสรุป)
ุ
ท่ามกลางกระแสและการเปลี่ยนแปลงของการด าเนินชีวิตมนุษย์ในพทธศตวรรษที่ 26 จะ
ื่
เห็นได้ว่าเป็นผลกระทบที่เกิดจากการพัฒนาเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าไปอย่างไม่หยุดยั้ง เพอเป้าหมายของ
การก่อให้เกิดความผาสุกสะดวกสบาย และประหยัดแรงงานของมนุษย์ จนท าให้ทั้งโลกก้าวย่างสู่การ
เป็นโลกของการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน (Drastically Disruptive World) โลกมนุษย์จึงมี
เทคโนโลยีที่ทันสมัยไม่ว่าจะเป็นระบบโทรศัพท์อจฉริยะ (Smart Phone), ผลิตภัณฑ์ปัญญาประดิษฐ์
ั
(Artificial Intelligence Products), สรรพสิ่งด้วยอนเทอร์เน็ต (Internet of Things) เป็นต้น แต่ยัง
ิ
เห็นว่าถึงแม้มนุษย์จะมีความก้าวหน้าในการผลิตเครื่องอานวยความสะดวกจนถึงที่สุดในปัจจุบัน สิ่งที่
เราจะพบเห็นกันอยู่ในชีวิตประจ าวัน ก็คือ ความทุกข์ ที่เป็นความเสื่อมถอยทางศีลธรรม อนเกิดจาก
ั
ความยากจนและความเลื่อมล้ าทางเศรษฐกิจ ความไม่สงบทางสังคม ที่มีการเข่นฆ่า อาชญากรรมที่
รุนแรงที่ยังไม่ปรากฏอยู่ทั่วไป จนท าให้องค์กรสหประชาชาติ (UN) มีการประชุมใหญ่ในปี พ.ศ. 2558
ื่
ั
เพอจัดท าแผนพฒนาสันติภาพ และความผาสุกของประชาชนและของโลก ส าหรับประเทศสมาชิก
ทั้งหลายขึ้น เรียกว่า “วาระ 2030 เพอการพฒนาที่ยั่งยืน” (The 2030 Agenda for Sustainable
ื่
ั
Development) ประกอบด้วยเป้าหมายหลักส าหรับการพฒนา 17 เป้าหมาย (17 SDGs) หนึ่งใน 17
ั
ื่
เป้าหมาย คือ เป้าหมายที่ 16 ได้ระบุไว้ว่าเป็นเป้าหมาย “ส่งเสริมสังคมที่สงบสุข และครอบคลุมเพอ
การพฒนาที่ยั่งยืนให้ทุกคนเข้าถึงความยุติธรรม และสร้างสถาบันที่มีประสิทธิผล รับผิดชอบและ
ั
ครอบคลุมในทุกระดับ (Goal 16, Justice and Strong institutions – Promote peaceful and
inclusive societies for sustainable development, provide access to justice for all and
1
build effective, accountable and inclusive institutions at all levels) และยังก าหนด
มาตรการต่าง ๆ ในการแก้ปัญหาสังคมดังกล่าว ให้สามารถลุล่วงไปได้
ในทางพุทธศาสนา หนทางและแนวทางแก้ไขความเสื่อมถอยถือเป็นเป้าหมายหลักของการ
ุ
ื่
ั
ุ
ประกาศพระพทธศาสนาของพระพทธเจ้า ซึ่งวัตถุประสงค์ก็เพอให้ทุกคน ได้สามารถรอดพน จาก
ความทุกข์และความคับแค้น ขัดสนทั้งปวง ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ค าสอนหรือพระธรรมค าสอน
ึ
ของพระพทธองค์ จึงเป็นสิ่งที่ชาวพทธทุกคน และผู้สนใจใฝ่หาสันติสุขพงความจะศึกษาให้เข้าใจถ่อง
ุ
ุ
แท้และน าไปปฏิบัติให้ถูกต้อง ดังนั้น การท าความเข้าใจในหลักธรรมของพทธศาสนา จึงเป็นเบื้องต้น
ุ
ส าหรับชาวพุทธทุกคนและบุคคลทั่วไป และในการท าความเข้าใจในพระธรรมค าสอน จะเกิดขึ้นได้นั้น
ุ
ความเข้าใจภาษาที่พระพทธองค์ทรงใช้เทศนา คือ ภาษาบาลี จึงเป็นสิ่งแรกที่ทุกคนต้องท าความ
เข้าใจ และตามด้วยการด าเนินตามรอยพระพทธองค์ คือ ช่วยกันเผยแพร่พระธรรมค าสอนต่อไป
ุ
จากงานวิจัยและการจัดท าเอกสานเผยแพร่หลักธรรมและแนวปฏิบัติในการสร้างสันติสุขให้
เกิดขึ้นอย่างยั่งยืนได้มีปรากฏอยู่ในผลงานที่มีการน าไปใช้ประโยชน์ในโครงการ “โครงการเผยแพร่
พระไตรปิฎก น าพระพุทธศาสนาสู่สากล ระยะที่ 1 และระยะที่ 2” ซึ่งเป็นการจะท าการแปล